Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน, ขั้นที่ 5 การดำเนินการแก้ปัญหาและเ…
แนวคิดการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความหมายของการวิจัย
กระบวนการค้นคว้าหาความรู้อย่างมีระบบ เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย
การวิจัยมีสาระสำคัญ
ส่วนที่1 ปัญหา ประเด็นปัญหา/ข้อสงสัย/หาคำตอบ
ส่วนที่ 2 ใช้วิธีการที่มีระบบ
ส่วนที่ 3 ได้ข้อความรู้ ข้อเท็จจริงเชื่อถือได้
ประเภทของการวิจัย
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
1) การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
2) การวิจัยเชิงบรรยาย
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยความสัมพันธ์ของตัวแปร
การศึกษาพัฒนาการ
การศึกษารายกรณี
3) การวิจัยเชิงทดลอง
จำแนกตามลักษณะข้อมูล
1) การวิจัยเชิงปริมาณ
2) การวิจัยเชิงคุณภาพ
จำแนกตามประโยชน์การนำไปใช้
2) การวิจัยประยุกต์
3) การวิจัยปฏิบัตการ
1) การวิจัยพื้นฐาน
ความหมายของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
วิจัยปฏิบัติการที่มุ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงกับงานหรือพัฒนาให้ดีขึ้น
เป้าหมายเพพื่อพัฒนาการเรียนการสอนที่ครูรับผิดชอบ
เป็นงานวิจัยพร้อมกับการสอน การทำงาน
ผลการวิจัยสะท้อนกลับเกี่ยวกับการทำงานตนเอง สู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
ประเภทของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนอย่างง่าย
การวิจัยการปฏิบัติการในชั้นเรียน
การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนแบบร่วมมือ
การวิจัยระดับสถานศึกษา
ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทำแผนการสอน ลงมือสอน และบันทึกผลการสอน เป็นเพียงจุดตั้งต้นที่จะทำการวิจัย แต่ยังไม่ใช่การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ครูตั้งโจทย์ปัญาหาที่มีเป้าหมายการแก้ปัญหาก่อน แสวงหาวิธีการแก้ปัญหา สังเกตผลให้ได้ความรู้ก่อนปฏิบัติจริง
ผู้วิจัยต้องรับฟังความคิดเห็นของผู้เรียนแล้วนำมาใช้ประโยชน์
เป้าหมายของการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน คือ การนำผลงานวิจัยมาปรับปรุงพัฒนางาน
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนต้องมีการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไข ปรับปรุงงาน
ขั้นที่ 2 ศึกษาแนวคิด ทฟษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 3 การออกแบบการวิจัย
การกำหนดแผนแบบการวิจัย
การวางแผนกำหนดแหล่งที่มาของข้อมูล
การกำหนดวิธีการเก็บข้อมูลและเครื่องมือวิจัย
ขั้นที่ 4 การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ดำเนินการวิจัย เช่น แผนการสอน แบบฝึก
เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เช่น แบบทดสอบ
ขั้นตอนการวิจัยแบบอื่นๆ
แบบ P-A-O-R
ขั้นที่ 3 การสังเกต
ขั้นที่ 4 สะท้อนการปฏิบัติ
ขั้นที่ 2 การปฏิบัติการ
ขั้นที่ 1 การวางแผน
แบบ Freeman
ขั้นที่ 2 การกำหนดคำถาม
ขั้นที่ 3 การรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 1 การตั้งข้อสงสัย
ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นที่ 5 การทำความเข้าใจ
ขั้นที่ 6 การเผยแพร่
การสืบค้นความรู้
สืบค้นจากตำรา บทความ เอกสารต่างๆ
สืบค้นจากฐานข้อมูลสำเร็จรูป
สืบค้นจากอินเทอร์เน็ต
ปัญหาการวิจัยกับการตั้งชื่อเรื่องวิจัย
การกำหนดปัญหาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
5) จากนโยบาย ความต้องการของหน่วยงาน
3) จากการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาการสอน
6) จากภาวะทางสังคม
2) จากหลักฐานการเรียน
1) จากประสบการณ์ของครู
4) จากวิธีการระดมสมองโดยกระบวนการกลุ่ม
การตั้งชื่อเรื่องงานวิจัย
2) กะทัดรัด มีความชัดเจน
3) ขอบเขตชัดเจน สื่อความหมายดี
1) ตรงกับปัญหาที่ศึกษา
ตัวแปรของการวิจัย
ตัวแปรตาม สิ่งที่เป็นผลจากตัวแปรต้น
ตัวแปรต้น สิ่งที่ผู้วิจัยใช้ในการแก้ปัญหา/พัฒนา
การกำหนดวัตถุประสงค์กับกรอบแนวคิดการวิจัย
หลักการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย ยึดหลัก SMART
Attainable ระบุสิ่งที่ต้องการจะค้นพบอย่างชัดเจนสามารถทำได้สำเร็จ
Reasonable มีเหตุผลเป็นความจริงที่สามารถทำได้
Measurable สามารถวัดได้
Time มีขอบเขตของเวลากำหนดเวลาเริ่มและสิ้นสุด
Sensible มีหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงและมีความเป็นไปได้
กรอบแนวคิดการวิจัย
3) ความสอดคล้องกัน
4) ความมีประโยชน์ต่อการปฏิบัติ
2) ความง่ายและไม่สลับซับซ้อน
1) ความตรงประเด็น
ขั้นที่ 5 การดำเนินการแก้ปัญหาและเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลด้วยการวัดผลประเมินผล
ข้อมูลด้านความรู้ ความสามารถทาสมองของนักเรียน
ข้อมูลด้ารความคิดเห็น ความต้องการ ความพึงพอใจ
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน
ปัญหาการเรียนการสอน
2) ปัญหาป้องกัน
3) ปัญหาเชิงพัฒนา
1) ปัญหาขัดข้อง
ระดับของประเด็นปัญหาการวิจัย
ระดับที่ 1 การศึกษาสภาพของผู้เรียน
ระดับที่ 2 การวิเคราะห์สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหา
ระดับที่ 3 ลงมือแก้ปัญหา
ขั้นที่ 6 การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
ขั้นที่ 7 การรายงานผลการวิจัยและการเผยแพร่
ขั้นที่ 8 การนำผลการวิจัยไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน
น.ส.ณิชากร วิทยาเรืองศรี 611120406 โปรแกรมวิทยาศาสตร์ทั่วไป