Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 การประเมินคุณภาพของแบรนด์ เพื่อก้าวสู่แบรนด์ที่ยั่งยืน - Coggle…
หน่วยที่ 8 การประเมินคุณภาพของแบรนด์ เพื่อก้าวสู่แบรนด์ที่ยั่งยืน
เกณฑ์ในการประเมินคุณภาพส่วนประกอบของแบรนด์
1.เป็นที่จดจำได้ง่าย
5.สามารถปรับให้ทันสมัยได้
2.มีความหมายที่ดีและสะท้อนตัวตนของแบรนด์
4.สามารถปรับใช้ในการสื่อต่างๆ ได้ดี
3.เป็นที่ชื่นชอบ
ขั้นตอนการประเมินคุณภาพของแบรนด์
ขั้นตอนที่ 8 เติมเต็มตัวตนของบริโภค (Inspiration)
ขั้นตอนที่ 3 เชื่อมโยงกับบางสิ่งบางอย่างที่มีคุณค่า (Association)
ขั้นตอนที่ 9 ตัวแทนของแบรนด์และผู้สนับสนุนแบรนด์ (Ambassador & Advocacy)
ขั้นตอนที่ 4 ความสนใจและชื่นชอบในตัวตนของแบรนด์ (Preference)
ขั้นตอนที่ 1 การรับรู้ว่ามีอยู่ (Awareness)
ขั้นตอนที่ 7 พิสูจน์ความน่าเชื่อถือ (Promise)
ขั้นตอนที่ 6 ตัดสินใจซื้อ (Decision)
ขั้นตอนที่ 5 ผู้บริโภคต้องการซื้อและกำลังพัฒนาแบรนด์ (Consideration)
ขั้นตอนที่ 2 รู้สึกขึ้นเคย (Familiarity)
การตรวจสุขภาพแบรนด์ (Brand Asset & Audit)
เพื่อประโยชน์ทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของแบรนด์ แบรนด์จำเป็นที่จะต้องดูแลความสัมพันธ์ที่ตนเองมีต่อผู้บริโภค ให้ต่อเนื่ิองและมั่นคง ผ่านลักษณะและมุมมองที่สอดคล้องกับคำว่า "เพื่อนที่ดี" ในมุมมองของผู้บริโภค
ปัจจัยในการประเมินคุณภาพการรับรู้ของแบรนด์
2.สมรรถนะแบรนด์ (Brand Performance)
1.สมรรถนะธุรกิจ (ฺBusiness Performance)
แนวคิดการวัดคุณค่าแบรนด์ (Measurement of Brand Equity)
1.กลุ่มที่ใช้วิธีการวัดทางด้านการเงิน (Finance Measurement)
2.กลุ่มที่ใช้วิธีการวัดทางด้านความสัมพันธ์ต่อผู้บริโภค (Consumer-Related Measurement)
การประเมินความภักดีต่อแบรนด์ (Brand Royalty)
1.ความพึงพอใจของลูกค้า หรือผุ้มุ่งหวังที่มีต่อแบรนด์
2.ทัศนคติด้านบวกที่มีต่อแบรนด์
วิธีการประเมินผลแบรนด์ที่ได้ผล
วิธีที่จะรู้ว่าแบรนด์อยู่ในความสนใจและจะสำเร็จหรือไม่ในอนาคต ก็คือ การประเมินผลแบรนด์นั่นเอง
ถ้าหากไม่มีการประเมินผลแบรนด์ องค์กรและบริษัทก็จะจับทิศทางไม่ถูก ไม่ทราบว่ามีข้อเสียตรงไหน
ก่อนจะทำการประเมินผลแบรนด์ ต้องแยกการประเมินผลแบรนด์และการประเมินผลของผลิตภัณฑ์ออกให้ชัดเจนเสียก่อน
ตัวอย่างแบรนด์ที่ประสบผลสำเร็จ
1.Amazon pttstation
2.Superbrands Thailand
3.O-WORLD BRANDING AWARD-