Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Closed Fracture at mid shaft to right femer - Coggle Diagram
Closed Fracture at mid shaft to right femer
ความหมาย
กระดูกหักแบบปิด (Closed fracture) คือ ภาวะกระดูกหักที่ไม่มีการเชื่อมต่อกันระหว่างบริเวณกระดูกที่หักและสภาวะอากาศภายนอก
การรักษา
skeletal traction หมายถึงการออกแรงดึงที่ distal fragment โดยใช้ pin แทงทะลุผ่านกระดูก
แล้วใชห่วงเหล็ก ( bow )
พยาธิสภาพ
กระดูกแต่ละส่วนในร่างกายนั นมีความแข็งแรง ซึ่งท้าหน้าที่รับแรงกระแทกจากการท้ากิจกรรมต่าง ๆ อย่างไร
ก็ตาม หากได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง กระดูกก็สามารถแตกและหักได
เช่น ประสบอุบัติเหตุ เช่น รถชน ส่งผลให้ได้รับบาดเจ็บสาหัส
ถูกตีหรือได้รับแรงกระแทกอย่างรุนแรง
ตกลงมาจากที่สูง
ตกลงมากระแทกพื นที่แข็งมาก
ได้รับแรงกระแทกจากการเคลื่อนไหว เช่น เล่นกีฬาที่ต้องลงน ้าหนักมากเกินไป ซึ่งท้าให้เท้า ข้อเท้า
หน้าแข้ง หรือสะโพก เกิดกระดูกปริได้
การวินิจฉัย
โดยทั่วไปแล้ว แพทย์จะวินิจฉัยกระดูกหัก โดยตรวจบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บและเอกซเรย์กระดูกผู้ป่วย ทั งนี
ผู้ป่วยบางรายที่ไม่พบความผิดปกติหลังเอกซเรย์แต่แพทย์สันนิษฐานว่าเกิดกระดูกหัก อาจต้องใส่เฝือกอ่อน
ดามกระดูกไว้ก่อนประมาณ 10-14 วัน แล้วมาเข้ารับการเอกซเรย์อีกครั ง เพื่อตรวจดูว่ามีกระดูกหักหรือไม่
หากผู้ป่วยเกิดกระดูกหัก จะปรากฏรอยหักชัดขึ น เช่น รอยกระดูกหักที่ข้อมือ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีภาวะพร่องสุขวิทยาส่วนบุคคลเนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้บางอย่าง
เสียงที่ต้องการติดเชื้อเนื่องจากมีแผลรูเปิดบริเวณขาข้างขวา จากการ on skeletal traction
เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับตามปุ่มกระดูก
ผู้ป่วย ติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ป่วยกระดูกหักอาจมีลักษณะแนวกระดูกของแขนและขาที่ผิดปกติ หรือเฝือกปูนไม่รองรับพอดีกับอวัยวะที่
ต้องได้รับการใส่เฝือกเพื่อดามกระดูก ทั งนี ผู้ป่วยสามารถประสบภาวะแทรกซ้อนจากกระดูกหักได้ โดย
ภาวะแทรกซ้อนจากกระดูกหักแบ่งออกเป็นภาวะแทรกซ้อนระยะแรก และภาวะแทรกซ้อนระยะปลาย
การป้องกัน
ควรคาดเข็มขัดนิรภัยทุกครั งที่ขับรถหรือโดยสารรถยนต์ รวมทั งสวมอุปกรณ์ที่ป้องกันการกระแทก
เช่น หมวกกันน็อค หรือสนับเข่า มือ และข้อศอก เมื่อต้องขับขี่จักรยานยนต์หรือท้ากิจกรรมผาดโผน
ไม่ควรวางของทิ งไว้ตามทางเดินหรือบันได เนื่องจากอาจท้าให้สะดุดล้มได้ รวมทั งควรปิดหน้าต่าง
หรือมีทางกั นตรงทางขึ นลงบันได เพื่อป้องกันเด็กเล็กพลัดตกลงไป
ควรดูแลเด็กให้ดี เพื่อระวังไม่ให้เล่นซนจนเกิดอุบัติเหตุ
เมื่อต้องใช้บันไดหรือนั่งร้าน ควรเลี่ยงยืนอยู่บนบันไดขั นบนสุด รวมทั งให้คนอื่นจับบันไดไว้ขณะที่ปีน
ผู้ป่วยโรคกระดูกพรุนควรออกก้าลังกายอย่างสม่้าเสมอ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงและสมดุลให้มวล
กระดูก รวมทั งปรึกษาแพทย์เพื่อขอค้าแนะน้าเกี่ยวกับการรับประทานแคลเซียมเสริม
อาการและอาการแสดง
รู้สึกปวดกระดูกหรือรอบ ๆ บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บอย่างรุนแรง โดยอาการจะแย่ลงเมื่อเคลื่อนไหว
อวัยวะที่ได้รับบาดเจ็บ หรือได้รับแรงกดที่บริเวณดังกล่าว
∆ เกิดอาการบวมบริเวณกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ ทั งนี ยังเกิดรอยช ้าและเลือดออกจากผิวหนัง
∆ อวัยวะผิดรูป เช่น แขนหรือขาผิดรูป โดยแขนหรือขาจะงอ หรือหักบิดในลักษณะที่ผิดปกติ
∆ เคลื่อนไหวแขนขาได้น้อย หรือเคลื่อนไหวไม่ได้เลย
∆ รู้สึกชา และเกิดเหน็บชา
∆ ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดกระดูกทิ่มผิวหนังออกมา