Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่1 แนวคิดการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - Coggle Diagram
บทที่1
แนวคิดการวิจัย
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน
ประเภท
ของการวิจัย
จำแนกตามระเบียบวิธีวิจัย
1.การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องราวในอดีต
2.การวิจัยเชิงบรรยาย
เพื่อค้นหาข้อเท็จจริงในสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน
3.การวิจัยเชิงทดลอง
เพื่อค้นหาว่าอะไรเป็นเหตุที่ทำให้เกิดผล
จำแนกตามลักษณะของข้อมูล
1.การวิจัยเชิงปริมาณ
ให้ความสำคัญกับข้อมูลเชิงประจักษ์ที่มีความแม่นยำชัดเจน
2.การเชิงคุณภาพ
ให้ความสำคัญกับการได้ภาพรวมทุกแง่มุม
จำแนกตามประโยชน์การนำไปใช้
1.การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
เพื่อนำไปใช้ทดสอบหรือสร้างกฎ ทฤษฎี
2.การวิจัยประยุกต์
เพื่อแก้ปัญหา เพื่อการตัดสินใจ
3.การวิจัยปฏิบัติการ
เป็นวิจัยที่มุ่งแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้า
ความหมายของการวิจัย
กระบวนการค้นคว้าหาความรู้อย่างเป็นระบบ
เพื่อตอบประเด็นที่สงสัย
ความหมายของการวิจัย
เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอน
เป็นวิจัยปฏิบัติการที่มุ่งแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นกับงานหรือพัฒนางานให้ดีขึ้น
ประเภทของการวิจัย
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
2.การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ในชั้นเรียนแบบร่วมมือ
เพื่อแก้ปัญหาในชั้นเรียนประเภทหนึ่ง
3.การวิจัยระดับสถานศึกษา
เพื่อแก้ปัญหาของโรงเรียน ปรับปรุงและพัฒนา
1.การวิจัยในชั้นเรียน
แก้ปัญหา และพัฒนากาคเรียนการสอนในชั้นเรียน
ความเข้าที่ถูกต้องเกี่ยวกับการวิจัย
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
1.การทำแผนการสอน ลงมือสอน และบันทึกผลการสอน
จะช่วยให้ครูทราบปัญหา
2.ครูแก้ปัญหาได้ยังไม่ใช่วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
3.การวิจัยในชั้นเรียน
ไม่ใช่เป็นการวิจัยกลุ่มตัวอย่าง
4.เป้าหมายการวิจัยในชั้นเรียน คือการนำผลงานวิจัย
มาปรับปรุง พัฒนา
5.การวิจัยในชั้นเรียนไม่ได้จบลงที่การสรุป
ขั้นตอนการวิจัย
เพื่อการเรียนการสอน
แนวทางการวิจัยปฏิบัติการ
1.การวิเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอน
2.ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3.การออกแบบการวิจัย
4.การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
5.การดำเนินการแก้ปัญหาและเก็บรวบรวมข้อมูล
6.การวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผล
7.การายงานผลการวิจัยและการเผยแพร่
8.การนำผลการวิจัยไปใช้พัฒนาการเรียนการสอน
ขั้นตอนการวิจัยอื่นๆ
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการแบบP-A-O-R
การวางแผน
ปฏิบัติการ
สังเกต
สะท้อนการปฏิบัติ
ขั้นตอนการวิจัยปฏิบัติการแบบFreeman
การตั้งข้อสงสัย
การกำหนดคำถาม
การรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การทำความเข้าใจ
การเผยแพร่
การสืบค้นความรู้
วิธีการสืบค้น
จากตำรา บทความ เอกสารต่างๆ
จากฐานข้อมูลสำเร็จรูป
จากอินเทอร์เน็ต
เทคนิคการสืบค้นอย่างรวดเร็วแบบอื่นๆ
1.ใช้คำสำคัญในการค้นหาข้อมูลกว้างๆ
2.ใช้นิยามถ้าอยากทราบความหมายของคำ
3.ใช้เครื่องหมายคำพูด ถ้าต้องการค้นกลุ่มคำ
4.ใช้เครื่องหมาย (- - - -),AND,NOT กำหนดขอบเขตเรื่อง
5.ใช้ site:<domain name> เพื่อค้นหาเฉพาะภายใน
7.ใส่นามสกุลไฟล์ที่ต้องการค้นหา
6.<ตัวเลขแรก>..<ตัวเลขสุดท้าย> เพื่อค้นข้อมูลระยะเวลา
ขั้นตอนในการสืบค้นความรู้ในเว็บไซต์ www.google.co.th
1.พิมพ์คำสำคัญที่ต้องการค้นหา
2.คลิกปุ่ม“ค้นหาด้วยGoogle” เพื่อความรู้ที่หลากหลาย
3.โอนย้ายข้อมูลมาใช้ประโยชน์
ปัญหาการวิจัยกับการตั้งชื่อเรื่องวิจัย
การกำหนดปัญหาวิจัย
เพื่อการเรียนการสอน
1.จากประสบการณ์ครู
2.จากหลักฐานการเรียน
3.จากการวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาการสอน
4.จากวิธีการระดมสมองโดยกระบวนการกลุ่ม
5.จากนโยบายของหน่วยงานและความต้องการของหน่วยงาน
6.จากภาวะทางสังคม
การตั้งชื่อเรื่องงานวิจัย
ต้องตรงกับปัญหาที่ศึกษา
กะทัดรัดและมีความชัดเจน
มีขอบเขตที่ชัดเจน สื่อความหมายได้ดี
ตัวแปรของการวิจัย
ตัวแปรต้น คือสิ่งที่ใช้แก้ปัญหา พัฒนา
ตัวแปรตาม คือผลจากตัวแปรต้นหรือพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายที่เปลี่ยนไป
การกำหนดวัตถุประสงค์กับกรอบแนวคิดการวิจัย
หลักการเขียนวัตถุประสงค์การวิจัย
หัวข้อเฉพาะเจาะจง
วัดได้
ระบุสิ่งที่ต้องการค้นหาชัดเจน
มีเหตุผล
มีขอบเขตของเวลา
กรอบแนวคิดการวิจัย
ตรงประเด็น
ง่ายไม่ซับซ้อน
สอดคล้องกัน
มีประโยชน์ต่อการปฏิบัติ
เขียนบรรยายต่อเนื่องกัน
เขียนเป็นแผนภูมิแสดงค.สัมพันธ์ของตัวแปร
เขียนเป็นแผนภูมิประกอบคำบรรยาย