Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน, นางสาวญานิตา ประดับบุตร 611181 - Coggle…
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
ปัญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียน
ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์มีแนวโน้มลดลงส่วนปัญหาโภชนาการเกินมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ปัญหาการขาดสารอาหารที่พบบ่อยในเด็กวัยเรียน
โรคติดเชื้อ พบมากที่สุด ไข้หวัด ไข้เลือดออก
โรคผิวหนัง ที่พบบ่อย เหา กลาก เกลื้อน หิด และแผลพุพอง
ปัญหาสุขภาพช่องปาก ฟันผุ และเหงือกอักเสบ
ความผิดปกติของสายตา ความผิดปกติที่พบ สายตาสั้น สายตาเอียง และสายตายาว
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ การพลัดตกหกล้ม ถูกของมีคมบาด อุบัติเหตุจากการเล่นกีฬา กิจกรรมสันทนาการ
การใช้สารเสพติด
ปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
ปัญหาอื่นๆ เช่น โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ปัญหาเด็กติดเกมส์ ปัญหาเล่นการพนัน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพเด็กวัยเรียน
ด้านตัวเด็ก
ได้แก่ วัย พันธุกรรม เพศ พฤติกรรมสุขภาพ
ด้านครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดู สัมพันธภาพและบรรยากาศของครอบครัว พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและชีวภาพ ด้านสังคม ด้านระบบบริการสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน
วัตถุประสงค์
เพื่อค้นหานักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านสุขภาพตั้งแต่ในระยะเริ่มแรกและให้คำแนะนำในการรักษาแก้ไขหรือส่งต่อได้อย่างเหมาะสม
เพื่อป้องกันอาการที่จะเกิดขึ้นอย่างรุนแรง
ป้องกันไม่ให้เกิดโรคติดต่อในโรงเรียน
เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง
ฝึกให้นักเรียนมีสุขนิสัยทางด้านสุขภาพที่ดี
ขั้นตอนการตรวจสุขภาพนักเรียน
การวางแผนการตรวจสุขภาพ
การจัดเตรียมอุปกรณ์ในการตรวจสุขภาพ
การดำเนินการตรวจสุขภาพ การบันทึกผลการตรวจสุขภาพ และการช่วยเหลือนักเรียนที่ปัญหาสุขภาพ
การติดตามผลการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ นักเรียนที่ได้รับการตรวจสุขภาพ
การประเมินการเจริญเติบโต
ภาวะการเจริญเติบโตดีหมายถึง การที่นักเรียนมีการเจริญเติบโตทั้งส่วนสูงและน้ำหนัก อยู่ในเกณฑ์ดี
การตรวจสายตานักเรียน
E-Chart / Snellen’s Chart
การตรวจการได้ยิน วิธีที่ 1
ให้นักเรียนยืนหันหลังให้ผู้ตรวจ ผู้ตรวจใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆ แล้วถามนักเรียนว่าได้ยินเสียงหรือไม่
วิธีที่ 2
ให้นักเรียนยืนหันหลังให้ผู้ตรวจ ห่างจากผู้ตรวจประมาณ 5 ฟุต ผู้ตรวจเรียกชื่อหรือบอกให้ นักเรียนทำตามคำสั่งด้วยเสียงปกติ
การตรวจร่างกายทั่วไป 10 ท่า
ขั้นตอนการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน
การประเมินสภาวะสุขภาพอนามัยของนักเรียน
การตรวจสุขภาพนักเรียน
การตรวจสุขภาพของนักเรียน
โดยผู้ปกครอง ครู แพทย์ ทันตแพทย์ เจ้าหน้าสาธารณสุข
การตรวจสุขภาพด้วยตนเอง
โดยป.5-6 ความสะอาดของร่างกายและเสื้อผ้า โรคหรือความผิดปกติของร่างกาย สายตาและการได้ยิน ภาวะการเจริญเติบโต แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย แบบประเมินพฤติกรมการบริโภคอาหาร ส่วนนักเรียนชั้น ม.1 – ม.6 ตรวจเพิ่มเติมจาก ป.5-6 คือ แบบประเมินความสุข แบบประเมินพฤติกรรมเสี่ยงในเรื่องอุบัติเหตุ
การสำรวจอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวางแผนแก้ปัญหา
โดยการประชุมร่วมกับครูและผู้ปกครอง
การปฏิบัติงานตามแผน
การจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา เช่น การดูแลสุขภาพช่องปาก การกำจัด การดูแลเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ
การประเมินผล
ทำให้ทราบถึงความก้าวหน้าของการปฏิบัติงาน
ทำให้ทราบถึงผลสำเร็จของงาน และปรับปรุงการดำเนินงานในครั้งต่อไปให้สมบูรณ์และเหมาะสมขึ้น
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชนในงานอนามัยโรงเรียน
การสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นการค้นหานักเรียนที่มีโรคหรือข้อบกพร่องทางด้านสุขภาพ
การให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพนักเรียนแก่ครูหรือนักเรียนจะทำให้ผู้รับการตรวจสนใจและนำไปปฏิบัติ
การลงบันทึกบัตรสุขภาพนักเรียน
การส่งเสริมการออกกำลังกาย
การป้องกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ
การรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย
พยาบาลจะต้องรักษานักเรียนที่เจ็บป่วยทุกโรคที่สามารถรักษาได้แต่ถ้ารักษาไม่ได้ ต้องส่งต่อนักเรียนไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีความผิดปกติทางด้านร่างกายและจิตใจ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวและคงไว้ซึ่งการทำงานของร่างกาย เพื่อดำรงชีวิตปกติให้ได้มากที่สุดโดยการทำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพด้านการฟื้นฟูสภาพ
อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
9 องค์ประกอบ
สถานที่ตั้ง
อาคารเรียน
พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
น้ำดื่ม – น้ำใช้
การจัดการขยะ
การจัดการน้ำเสีย
การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน
คุณลักษณะของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ส่งเสริมสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ดำเนินการศึกษาและสาธารณสุข ครู นักเรียนและผู้นําชุมชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพร่วมกับครอบครัวและชุมชนที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน
ใช้ความพยายามในการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัย
จัดให้มีการสอนสุขศึกษา
จัดให้เข้าถึงบริการสุขภาพที่ให้บริการอย่างมีประสิทธิผลที่ดีที่สุดในโรงเรียน
ดําเนินการตามนโยบายและข้อปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพ
ความพยายามในการปรับปรุงสุขภาพอนามัยของชุมชน
องค์ประกอบที่ 5
บริการอนามัยโรงเรียน บริการอนามัยโรงเรียนการที่โรงเรียนจัดให้มีบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับ นักเรียนทุกคนได้แก่การเฝ้าระวังภาวะสุขภาพการตรวจสุขภาพและการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในโรงเรียน
บทบาทพยาบาลชุมชนในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการด้าน สุขภาพของโรงเรียน
จัดสนับสนุนวิชาการ สื่อเอกสารความรู้ด้านสุขภาพแก่โรงเรียน
ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชนทำงานร่วมกันเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพของนักเรียน ครอบครัว และสมาชิกในชุมชน
จัดอบรมแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพทดแทนรุ่นที่จบจากโรงเรียนไปแล้ว
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
มาตรฐานที่ 1 การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ตัวชี้วัดที่ 1
มาตรฐานที่ 2 การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำ : ตัวชี้วัดที่ 2 - 3
มาตรฐานที่ 3 ผลสำเร็จของการดำเนินงาน
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะมีชีวิตรอด
(Right of Survival)
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
(Right of Development)
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
(Right of Protection)
สิทธิที่จะมีส่วนร่วม
(Right of Participation)
นางสาวญานิตา ประดับบุตร 611181