Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทยช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัย…
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทยช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ด้านการปกครอง
พระนางจามเทวี
ปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญชัย
ทรงอุปถัมภ์ทานุบารุงกิจการทางพระพุทธศาสนา
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
พระนางปกครองสุโขทัยในระหว่างที่ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) ไปปกครองเมืองสระหลวงสองแคว
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
ทรงดารงตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้า พระราชโอรสที่เป็นยุวกษัตริย์ ภายหลังพระนางขึ้นปกครองคู่กับขุนวรวงศาธิราช
กรมหลวงโยธาเทพ
ทรงเป็นเจ้านายทรงกรม สามารถจัดเก็บส่วยอากรขนอนตลาด มีเลกสมสังกัด มีกองทหารและทหารสังกัดในพระองค์ พระองค์มีอานาจสิทธิ์ขาดปกครองดูแลราชสานักฝ่ายใน
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ
ทรงดำรงตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแผ่นดินขณะรัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสยุโรป พ.ศ.๒๔๔๐
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ทรงดารงตาแหน่งผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อรัชกาลที่ ๙ เสด็จทรงผนวช
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงดำรงตำแหน่งเมื่อคราวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จเยือนต่างประเทศ
ด้านการรบและการทำสงคราม
สมเด็จพระสุริโยทัย
ทรงเสด็จพระสวามีในการป้องกันบ้านเมืองจากศึกพม่า จนถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าวสิ้นพระชนม์
เจ้าศรีอโนชา
ทรงรวบรวมบริวารปกป้องครอบครัว และช่วยเหลือพระยาสุริยอภัย ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี
ท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร
นาประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพ จนได้รับชัยชนะ
ท้าวสุรนารี
วางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ ในสมัยรัชกาลที่ ๓
ด้านการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
พระวิสุทธิกษัตริย์
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชทานให้แก่ ขุนพิเรนทรเทพ เพื่อสร้างความจงรักภักดีและความมั่นคงของบัลลังก์
พระเทพกษัตรีและพระแก้วฟ้า
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชทานให้ไปอภิเษกกับสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช พระเจ้ากรุงล้านช้าง
พระสุพรรณกัลยา
สมเด็จพระมหาธรรมราชายกให้พระเจ้า กรุงหงสาวดีบุเรงนอง
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงรอบรู้และเชี่ยวชาญในขนบธรรมเนียมโบราณราชประเพณี ทรงจัดทาตาราโบราณราชประเพณี
พระองค์เจ้าบุตรี
พระราชธิดาในรัชกาลที่ ๓ ทรงรอบรู้วิชาการต่างๆ เช่น ตานาน โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ทรงนิพนธ์หนังสือและบทร้อยกรอง
ด้านวรรณกรรม
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทรเทวี (กุ)
ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจาบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่า ใน พ.ศ.๒๓๑๐ ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์บทละครดาหลัง และอิเหนา โดยนาโครงเรื่องของชวามาดัดแปลงใหม่
พระองค์เจ้ามณฑาและพระองค์เจ้าอุบล
นิพนธ์กุมารคาฉันท์ สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ รับสั่งถึงหนังสือเล่มนี้ว่า เป็นตัวอย่างที่แสดงว่า สตรีไทยมีการศึกษาที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณ
คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง) และคุณสุวรรณ
กวีหญิงในรัชกาลที่ ๓ ผลงานของท่านได้แก่ เพลงยาวบวงสรวงสระน้าที่บางโขมด อุณรุทร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ
ด้านศาสนา
สตรีสูงศักดิ์ของไทยนับแต่สมัยสุโขทัย มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง จะสละพระราชทรัพย์เพื่อก่อสร้างและปฏิสังขรณ์ พระอาราม พระพุทธรูป และทำนุบำรุงพระภิกษุเป็นประจำ นอกจากนี้ยังมีการกัลปนาข้าคนให้เป็นเลกวัด เพื่อช่วยปฏิบัติกิจต่างๆ ให้แก่พระภิกษุและพระอารามทั้งปวง
นาย วีรภัทร ตาเร็ว ม4/1 เลขที่17