Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน: การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน…
กระบวนการพยาบาลในงานอนามัยชุมชน: การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (Planning)
ระยะก่อนวางแผน (Pre-Planning)จัดลาดับความสาคัญของปัญหา และศึกษาหาสาเหตุของปัญหาก่อน เพื่อที่จะได้วางแผนแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.1 การจัดลำดับความสาคัญของปัญหา (Priority Setting)การจัดลำดับความสาคัญของปัญหาจะสามารถช่วยให้พยาบาลชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ กาหนดระยะเวลาและจัดสรรทรัพยากรในการแก้ปัญหา การวางแผนใช้เวลาและทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให่เกิดประโยชน์สูงสุด
หลักการจัดลำดับความสาคัญของปัญหาอนามัยชุมชน
ควรเป็นปัญหาที่สามารถให้การช่วยเหลือในลักษณะของการป้องกันมากกว่าการรักษา
เป็นปัญหาที่กระทบต่อประชากรกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มผู้เยาว์หรือกลุ่มแรงงาน
วิธีการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยจะพิจารณาใน 4 ลักษณะแต่ละองค์ประกอบให้คะแนนจาก 0-4 หรือ 1-5 รวมคะแนนที่ได้ทั้งหมดแล้วนามาเรียงลาดับจากคะแนนที่ได้สูงสุดลง
1.ภาวะด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน พิจารณาจาก
1.1 ขนาดปัญหา (Size of problem หรือ Prevalence) หมายถึง การพิจารณาจานวนปัญหา
หรือโรคที่เกิดในชุมชน
1.2 ความรุนแรงของปัญหา (Seriousness หรือ Severity of problem) หมายถึง การที่มีการ
พิจารณาความรุนแรงตามลักษณะของโรค ผลกระทบของโรค หรือภาวะเสี่ยง
2.ความยากง่ายในการแก้ปัญหา( Ease of Management of Susceptibility to Management )ความยากง่ายในการแก้ปัญหา หมายถึงความเป็นไปได้ในการดาเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา
ด้านวิชาการ มีความรู้ด้านวิชาการในการนามาใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่ เพียงใด
ด้านทรัพยากร ดูแลบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และวิธีดาเนินการ รวมทั้งนโยบาย
สนับสนุนของผู้บริหาร
ด้านระยะเวลา มีเวลาเพียงพอที่จะแก้ไขปัญหานั้นๆๆหรือไม่
ด้านกฎหมาย ดูวิธีการแก้ปัญหาว่าขัดกับกฎหมายหรือไม่
ด้านศีลธรรม ดูว่าการแก้ปัญหาขัดกับศัลธรรม จรรยา ขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือไม่
การตระหนักในปัญหาของชุมชน (Community Concern)หมายถึง ประชาชนในชุมชนเห็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนนั้นมีความสาคัญหรือมีความวิตกห่วงใย หรือต้องการให้แก้ไขรีบด่วนหรือไม่ ซึ่งกระบวนการในการตรวจสอบความตระหนักนั้น มีหลายรูปแบบด้วยกัน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อตกลงร่วมกัน (Consensus) ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญหานั้น ๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับการวางแผนแก้ไขปัญหาตามลาดับก่อนหลัง ซึ่งมีผลโดยตรงต่อการประสานความร่วมมือ ทรัพยากร และการดา เนินงาน ฯ
1.2 การศึกษาสาเหตุของปัญหาเพื่อช่วยให้ผู้ดาเนินงานรู้สาเหตุของปัญหา ทาให้วางแผนแก้ ไขปัญหาได้ ตรงตามสาเหตุและถูกต้องเหมาะสม
ขั้นตอนการศึกษาสาเหตุปัญหา
การเก็บรวบรวมข้อมูลลักษณะของปัญหาทางด้านสุขภาพ และควรเป็นข้อมูลทางด้านความรู้ เจตคติและการปฏิบัติตัว เพื่อศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล
การวิเคราะห์ข้อมูล จัดทาข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อให้ได้ข้อมูลที่จะสามารถนามาใช้ในการสนับสนุนปัญหา
ปัจจัยหลัก ได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ ค่านิยม การรับรู้ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมนั้น ๆ ซี่งมีอยู่ในแต่ละบุคคล
ปัจจัยเสริม ได้แก่ การมีทักษะ การมีแหล่งประโยชน์และบริการทางสาธารณสุข ทรัพยากรของชุมชนหรือบุคคล กฎระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งอาจมีผลทั้งด้านบวกและด้านลบต่อพฤติกรรม
ปัจจัยสนับสนุน ทัศนคติและพฤติกรรมที่เกิดจากสังคม หรือคนใกล้ชิด
แบบจำลองการโยงใยของสาเหตุ (The Web of Causation Model) เป็นการพัฒนามาจากแบบจาลองห่วงโซ่ของสาเหตุ (The Chain of Causation Model) ด้วยเหตุผลที่ว่าการสรุปสาเหตุของปัญหา
เริ่มต้นจากปัญหาที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ในขณะนั้น ๆ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตายปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน เป็นต้น หรือปัญหาอะไรก็ได้
ปัญหานั้น ๆ น่าจะมีสาเหตุ มาจากอะไรบ้าง โดยต้องหาสาเหตุที่ใกล้ที่สุดก่อนเรียกว่าสาเหตุทางตรง (Direct causal) วิธีการค้นหาสาเหตุของปัญหา
2.1. ใช้หลักของเหตุผล หรือหลักทางวิชาการ (Basic on Reason) โดยศึกษาจากตารา เอกสาร การวิจัยว่าปัญหานั้น ๆเกิดจากสาเหตุใด
2.2. ใช้ประสบการณ์ (Based on Experience) ความรู้ ความชานาญ ทั้งของเจ้าหน้าที่และประชาชนในชุมชนที่เป็นเจ้าของปัญหา
หลังจากนั้นให้ พิจารณาต่อไปอีกว่า สาเหตุทางตรงที่อยู่ใกล้กับปัญหาที่เรากาลังศึกษา อยู่นั้น เกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง
ระยะวางแผน
ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
1.1 แผนระยะยาว ได้แก่ แผนที่มีระยะดาเนินงานตั้งแต่ 5-10 ปีขึ้นไป
1.2 แผนระยะปานกลางหรือแผนระยะกลาง ได้แก่ แผนซึ่งงมีระยะดาเนินงานอยู่ระหว่าง 2-5 ปี
1.3 แผนระยะสั้น ได้ แก่ แผนซึ่งมีระยะดาเนินงานอยู่ระหว่าง 2 ปี
ประเภทของแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทาเป็นหลัก
2.1 แผนเพื่อการกระทำซ้าหรือแผนถาวร
2.2 แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซ้ำกันหรือแผนเพื่อใช้ครั้งเดียว
ประเภทของแผนแบ่งตามพื้นที่
3.1 แผนชาติเป็นการวางแผนในลักษณะกาหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
3.2 แผนภาค เป็นการวางแผนในลักษณะของการมุ่งเน้น การปฏิบัติโดยยึดนโยบายเป็นกรอบ
3.3 แผนพื้นที่เป็นการวางแผนในลักษณะของแผนงาน หรือโครงการโดยเน้นกิจกรรมการแก้ไขปัญหา
ประเภทของแผนแบ่งตามลายลักษณ์ อักษร
4.1 แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
4.2 แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
แผน (Plan) หมายถึง แผนหลักของหน่วยงานที่กาหนดทิศทางการดาเนินงานตามนโยบาย ของหน่วยงาน
แผนงาน (Program) หมายถึง แผนงานย่อยในแผนแม่บท ซึ่งกาหนดรายละเอียดว่าจะมีกิจกรรมการดาเนินงานอะไรบ้าง ซึ่งเฉพาะเจาะจงในปัญหาที่ต้องการแก้ไขชัดเจน มีระยะเวลา 1-5 ปี
โครงการ (Project) หมายถึง เป็นองค์ประกอบย่อยของแผนงานที่ถูกกาหนดขึ้นเพื่อใช้ในการดาเนินงานให้บรรลุกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง
กิจกรรม (Procedure/Activity) หมายถึง รายละเอียดของการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ กิจกรรมจะเป็นแนวทางอยู่ในโครงการ
ลักษณะของแผนอนามัยชุมชนที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย และเป็นไปได้ตามสถานการณ์ของความเป็นจริง
มีกลยุทธ์ หรือกิจกรรมแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้
กาหนดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณได้อย่างเหมาะสมกับชุมชน และเกิดประโยชน์สูงสุด
มีกาหนดระยะเวลาการทางานที่แน่นอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนกระทั้งสิ้นสุดการทางาน
มีการกาหนดขอบเขตหน้าที่การทางานและความรับผิดชอบงานให้แก่บุคลากร ในทีม
สามารถประเมินความสาเร็จของงานได้
มีลักษณะยืดหยุ่นและง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไข
เป็นแผนที่สอดคล้องกับนโยบาย
การจัดทำแผนแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน
แผนงาน หมายถึง กลุ่มโครงการตั้งแต่ 2 โครงการขึ้นไปที่กาหนดขึ้นในลักษณะประสานสัมพันธ์กันเพื่อการแก้ไขปัญหา
1.1 หัวเรื่อง เป็นการบอกความเป็นมาของแผนงาน
1.2 ปัญหา เป็นการระบุปัญหาอนามัยชุมชนซึ่งมีวิธีการเขียนปัญหาในลักษณะของข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.3 วิเคราะห์ปัญหา เป็นข้อมูลสนับสนุนให้ปัญหาอนามัยชุมชนมีความเชื่อถือได้และมองเห็นแนวทางการแก้ไขปัญหา
1.4 เป้าประสงค์ หรือเป้าหมายของการแก้ปัญหา
1.5 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของแผนงานเป็นวัตถุประสงค์ทั่วไป
1.7 ประเมินผล เป็นการกาหนดเครื่องชี้วัดเกณฑ์ และวิธีการประเมินเพื่อวัดความสาเร็จของงานตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
1.6 วิธีการทางสาธารณสุ ขในการแก้ปัญหาเป็นกลุ่มกิจกรรมที่จะนามาใช้ ในการปฏิบัติงานแก้ ไขปัญหาให้ลุล่วงไปด้วยดี
นางสาวเกียรติสุดา จีนจิ้ว 610105