Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบนิเวศในบึงโขงหลง - Coggle Diagram
ระบบนิเวศในบึงโขงหลง
เพื่อจัดทำข้อเสนอเเนะในการอนุรักษ์พื้นที่
ปัญหาที่ทำให้การอนุรักษ์ติดขัด
ความต้องการที่จะกำหนดวิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อการป้องกันเเละเเก้ปัญหาการอนุรักษ์ที่สำคัญ
สมรรถภาพของการอนุรักษณ์ทั่วประเทศเเละระหว่างประเทศนั้นยังขาดจากการจัดการเเละการประสานงาน
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีความจำเป็นต่อการยังชีพเเละการพัฒนา
โบราณสถาน ศิลปวัฒนธรรม ได้ถูกทำลายอย่างมากจากการกระทำของมนุษย์ที่มาจากการจัดกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ
ข้อเสนอเเนะในการอนุรักษ์
ข้อสรุปของบึงโขงหลง.
1.บึงโขงหลง เป็นบึงน้ำขนาดใหญ่ มีลักษณะแปลกตา มีเอกลักษณ์เฉพาะของพื้นที่ชุ่มน้ำในแถบนี้
2.บึงโขงหลงเป็นแหล่งพักพิงของปลาและนกจำนวนมาก ซึ่งในจำนวนนี้มีปลาและนกหลายชนิดที่มีสภาพทางนิเวศวิทยาตกอยู่ในอันตราย
3.บึงโขงหลงเป็นแหล่งที่พักอาศัยของนกอพยพหลายชนิดในระหว่างฤดูหนาว
การพัฒนายิ่งโขงหลงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การเข้าถึง บึงโขงหลงสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก ทางหลวงที่นำไปบึงโขงหลงมีผิวการจราจรที่ดีราบเรียบ
ที่พักอาศัย หากจะพักค้างคืนในบริเวณบึงโขงหลง พบว่ามีห้องพักแบบรีสอร์ทอยู่ประมาณ 4 แห่ง โดยอยู่ไม่ห่างไกลจากบึงโขงหลงนัก สภาพห้องดีพอควรและราคาไม่แพง
ยานพาหนะ ในการเดินทางไปบึงโขงหลง ควรมียานพาหนะเป็นของตัวเองเนื่องจากไม่สะดวกในการที่จะอาศัยรถประจำทาง อนึ่งภายในตัวอำเภอบึงโขงหลงก็ไม่มีรถประจำทางแต่อย่างไร
อาหาร หากจะพักค้างแรมในบริเวณอำเกอบึงโขงหลง การรับประทานอาหารมื้อเย็นค่อนข้างลำบาก เนื่องจากต้องไปใช้บริการของร้านอาหารในอำเภอเซกา ซึ่งก็มีร้านอาหารที่จำหน่ายอาหารมื้อเย็นน้อยมาก (ประมาณ 2 ร้าน)
สิ่งดึงดูดความสนใจ บึงโขงหลงมีสิ่งดึงดูดความสนใจคือการเป็นบึงน้ำที่กว้างใหญ่ ที่มีนกน้ำนานาชนิดอาศัยอยู่ ในการตูนกน้ำในบึงโชงหลง กระทำได้ 2 วิธี คือ แต่อย่างไร
5.1 ดูนกตามเส้นทางการเดินศึกษาธรรมชาติ (ระยะทางประมาณ 600 เมตร) ที่ทางเขตห้ามล่าฯ ได้จัดทำขึ้น เส้นทางนี้เป็นเส้นทางเดินเลียบไปตามริมน้ำ สามารถพบเห็นนกน้ำได้หลายชนิด
5.2 นั่งเรือให้เรือแล่นเลียบไปตามริมบึง แวะเข้าตามเวิ้งต่างๆ รอบๆ ตอนสวรรค์ดอนหม้อทอง เป็นต้น การนั่งเรือรอบๆ บึงสามารถพบเห็นนกน้ำได้มากมายหลายชนิดมากกว่าการเดินดูนกตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ อย่างไรก็ตามการนั่งเรือนี้หากไม่มีเรือมาเองก็ต้องเช่าเรือ ซึ่งเรือที่มีขนาดใหญ่นั่งได้ประมาณ 5-6 คนอย่างปลอดภัย มีให้เช่าไม่มากนัก
ความจำเป็นที่ต้องมีการอนุรักษ์
เพื่อธำรงไว้ซึ่งปัจจัยสำคัญของระบบสิ่งเเวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อมนุษย์เเละสัตว์ ป้องกันพื้นที่เพื่อการเพาะปลูก การหมุนเวียนเเร่ธาตุ อาหารพืช ตลอดจนการรักษาน้ำให้สะอาด
เพื่อสงวนรักษาการกระจายของการขยายพัธุ์ต่างๆ ที่จำเป็นต่อการปรับปรุง การป้องกันพืช สัตว์เเละจุลินทรีย์ต่างๆ
เพื่อเป็นหลักประกันในการใช้พันธุ์สัตว์ เเละระบบนิเวศต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการยังชีพตามความเหมาะสม :
หลักการอนุรักษ์
การนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ รวมถึงการหลอมเศษวัสดุต่างๆให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้ใหม่
การใช้สิ่งทดเเทน เพื่อหาทรัพยากรอื่นๆทีมีคุณภาพเหมือนกัน สามารถใช้ทดเเทนกันได้ เพื่อรักษาปริมาณของทรัพยากร
การปรับปรุงคุณภาพ ช่วยแก้ปัญหาการขาดเเคลนของทรัพยากรเเละภาวะเเวดล้อมเสื่อมโทรม
การสำรวจหาทรพยากรใหม่ๆ เพื่อหาทรัพยากรที่สามารถมีประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตที่มีอยู่ในธรรมชาติอีกมากมาย รวมไปถึงการป้องกันมลพิษเพื่อไม่ให้เเปดเปื้อนในสิ่งเเวดล้อมที่มีส่งมีชีวิตเเละมนุษย์อาศัยอยู่ รวมทั้งการมีอยู่ของโบราณสถานเเละโบราณวัตถุ
การเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ประชาชนสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ส่งเสริมคุณภาพของสิ่งเเวดล้อม โดยอาศัยวิธีการต่างๆ รวมทั้งเผยเเพร่ประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงตัวประชาชนให้มากที่สุด
เพื่อศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของพืชเเละสัตว์
พันธุ์ปลา
ปลาที่สำคัญของบึงโขงหลง
(1.)ปลาบู่เเคระ ( 2.)ปลาบู่กุดทิง( 3.) ปลาซิวเเคระสามจุด( 4.) ปลาซิวหางกรรไกร( 5.) ปลาเหล็กใน ปลาสร้อยปีกแดง
ปลาเศรษฐกิจในบึงโขงหลงมี 8 ชนิดได้แก่
ปลากระสูบจุด
ปลาตะโกก
ปลาสร้อยขาว
ปลาสร้อยนกขาว
ปลาแขยง
ปลากดเหลือง
ปลานิล
ปลาช่อน
พันธุ์สัตว์
สัตว์เลื่อยคลาน
กิ้งก่า 3 ชนิด ได้แก่
กิ้งก่าหัวสีน้ำเงิน
กิ้งก่าหัวแดง
กิ้งก่าแก้ว
งู 2 ชนิด ได้แก่
งูสิง
งูเหลือม
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
2.กระเล็นธรรมชาติ
1.กระรอกหลากสี
สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก
2.กบนา
3.อึ่งอ่าง
1.เขียดโม้
ชุ่มพืช
ชุ่มพืชในบึงโขงหลงแบ่งได้เป็น 3 ประเภท
2.ชุ่มพืชบริเวณกลางน้ำ
ชุ่มพืชชนิดนี้เป็นชุมพืชที่มีพวกพืชใต้น้ำทั้งหมด พรรณไม้น้ำที่พบในบริเวณนี้ ได้เเก่ สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายหางกระรอกและสันตะวาใบข้าว
3.ชุ่มพืชกอสนุ่น
ชุ่มพืชชนิดนี้ เป็นชุ่มพืชที่มีทั้งพืชบกและพืชน้ำขึ้นปะปนกันเป็นกอใหญ่พรรณไม้ที่พบในบริเวณกอสนุ่น ได้แก่ หญ้าคาบอน แห้วทรงกระเทียม
เอลอ้า หม้อข้าวหม้อแกงลิง ผักหนาม เป็นต้น
1.ชุ่มพืชบริเวณน้ำตื้น
ชุ่มพืชบริเวณรอบๆ เกาะดอนสวรรค์ พืชที่ขึ้นอยู่ในบริเวณนี้ ตัวอย่างเช่น พืชใต้น้ำได้แก่ สาหร่ายข้าวเหนียว สาหร่ายหางกระรอก
ชุ่มพืชบริเวณชายฝั่งด้านตะวันตกเฉียงเหนือของดอนเสือตาย เป็นพรรณไม้เด่นพรรณไม้น้ำที่พบในบริเวณนี้มีตัวอย่างเช่น พืชใต้น้ำได้แก่
สาหร่ายไฟ ซึ่งเป็นสาหร่ายที่พบมากที่สุด
ชุ่มพืชบริเวณรอบๆโรงเรียนโสกก่ามวิทยา เป็นบริเวณที่มีต้นเเขมเป็นพืชเด่นและบริเวณกลางน้ำมีพวกสาหร่ายต่างๆ เช่น สาหร่ายไฟ สาหร่ายข้าวเหนียว และสันตะวาใบข้าว
ชุ่มพืชบริเวณชายฝั่งสวนป่ าเซกา ทางด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือของบึงมีพืชเด่นเป็นพวกแขมเฟิน หม้อข้าวหม้อแกงลิง และกกเหลี่ยมเป็นพืชเด่น และบริเวณกลางพื้นน้ำมีพวกสาหร่ายต่างๆ เช่น สาหร่ายข้าวเหนียว เป็นต้น เป็นพืชเด่น
ชุ่มพืชบริเวณรอบบ้านโสกพอกบริเวณนี้พบว่าส่วนใหญ่เป็นพวกพืชโผล่เหนือน้ำ เช่น บัวหลวง
ชุ่มพืชบริเวณบ้านโสกโพธิ์ บริเวณนี้ืพบว่าเป็นพืชโผล่เหนือน้ำ เช่น กระจูดซึ่งมีจำนวนมากที่สุด
ชุ่มพืชบริเวณท่าปลาใกล้ๆ กับฝายน้ำล้น พื้นที่ส่วนใหญ่ในบริเวณนี้เป็นบริเวณกลางพื้นน้ำ มีสาหร่ายข้าวเหนียวและสาหร่ายหางกระรอก เป็นพืชเด่น
ชุ่มพืชบริเวณฝายน้ำล้น ทางด้านทิศใต้ของบึงและ
บริเวณรอบๆฝายน้ำล้น พืชที่พบในบริเวณนี้ เช่น พืชโผล่เหนือน้ำ ได้เเก่ เเห้วทรงกระเทียม บัวหลวง ซึ่งพบมากที่สุดในบริเวณนี้