Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 พลังงาน - Coggle Diagram
บทที่ 3 พลังงาน
เซลล์สุริยะ
เซล์สุริยะเปลี่ยนพลังงานเเสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร
ทำจากสารกึ่งตัวนำ (semiconductor)
การนำเซลล์สุริยะมาใช้งานในชีวิตประจำวัน
การนำเซลล์สุริยะหลายเซลล์มาต่อกัน
มอดูลเซลล์สุริยะ (solar module/ PV module)
ถ้าต้องการกำลังไฟฟ้าสูง ต้องนำมอดูลเซลล์สุริยะหลายมอดูลมาต่อกัน
แผงเซลล์สุริยะ (solar pananel/ PV pananel)
เครื่องเเปลงกระเเสไฟฟ้า/อินเวิอร์เตอร์ (inverter)
แปลงกระเเสไฟฟ้า
เครื่องควบคุมการประจุ (charege controller)
ควบคุมกระเเสไฟฟ้าที่ได้จากเซลล์สุริยะให้มีความสม่ำเสมอ
เซลล์โฟโตโวลตาอิก (photovoltaic cell/ PV cell)
เทคโนโลยีด้านพลังงาน
เทคโนโลยีด้านพลังงานในภาคอุตสาหกรรม
มอเตอร์มประสิทธิภาพสูง
ลดการสูญเสียพลังงานได้ร้อยละ 25-30
หลอดเเอลอีดี
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเเสงมากกว่าหลอดดั้งเดิม
ระบบการนำความร้อนทิ้งกลับมาใช้ประโยชน์
ไอเสีย นำมาเพิ่มอุณหภูมิของน้ำ
นำน้ำเน่าเสียมาหมักย่อยเกิดเเก๊สชีวภาพ
เซลล์เชื้อเพลิง
เเหล่งกำเนดไฟฟ้าเปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
เทคโนโลยีด้านพลังงานในอาคารเเละที่พักอาศัย
ช่วยให้การการใช้พลังงานมีประสิทธิภาพ/ ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน
เครื่องใช้ไฟ้ฟ้าเเบบประหยัดพลังงาน
ใช้พลังงานน้อยกว่าเเบบธรรมดา
มีประสิทะิภาพในระดับดีมากจะมีเลข 5
เเบตเตอรี่
แบบทุติยภูมิ
สามารถบรรจุประจุ/ชาร์จได้
แบบปฐมภูมิ
ไม่สามารถบรรจุประจุ/ชาร์จได้
เป็นเเหล่งจากพลังงานในการขับเคลื่อยานพาหนะ
พลังงานนิวเคลียร์
การเปลี่ยนเเปลงพลังงานนิวเคลียร์จากฟิชชันเป็นพลังงานไฟฟ้า
เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
สร้าง/ควบคุมปฏิกิรยาลูกโซ่ในอัตราที่เหมาะสม
มี 3 ส่วน
1.ส่วนเเลกเปลี่ยนความร้อนเเละผลิตไอน้ำ
ส่วนผลิตไฟฟ้า
3.ส่วนระบายความร้อน
ฟิวชัน
ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสที่มีมวลน้อยมารวมกันเเล้วทำให้เกิดนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลมากกว่า
ฟิชชัน
วิธีการหนึ่งในการทำให้นิวเคลียส์เกิดการเปลี่ยนเเปลงเพื่อให้ได้พลังงานนิวเคลีย์ออกมา
มวลรวมหลังเกิดมีค่าน้อยกว่ามวลรวมก่อนการเกิด
ความสัมพันธ์ระหว่างมวของสสารกับพลังงานตามข้อเสนอของไอน์สไตน์
เกิดฟิชชันต่อเนื่อง/ปฏิกิริยาลูกโซ่ (chain reaction)