Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน, นางสาวเกียรติสุดา จีนจิ้ว 610105 - Coggle…
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
แนวทางการดำเนินงานในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (ช่วงชั้นที่ 3 -4 )
โรงเรียน / ครูที่ปรึกษาติดตามทวงถามแบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง จากนักเรียนที่เข้าใหม่ทุกคน
ทุกต้นเทอม ครูอนามัยประสานงานกับครูที่ปรึกษาเพื่อให้นักเรียนตรวจสุขภาพตนเองตามรายการที่ระบุไว้ในแบบบันทึกฯ
ครูอนามัยประสานงานกับครูที่ปรึกษาเพื่อให้นักเรียนทุกคนได้ทดสอบสายตาตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งสามารถทำไปพร้อมๆ กับการตรวจสุขภาพตนเอง
ครูอนามัยควรมอบหมายหน้าที่ต่างๆ ให้นักเรียนแกนนำด้านสุขภาพที่ได้รับการอบรม
จัดหายาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นสำหรับห้องพยาบาลให้เพียงพอ โดยพิจารณาตามสภาพปัญหาการเจ็บป่วยของนักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน
ครูประจำชั้น / ครูที่ปรึกษาส่งต่อนักเรียนที่เจ็บป่วย หรือ นักเรียนที่ตรวจสุขภาพตนเองพบว่ามีปัญหาสุขภาพไปขอรับคำแนะนำ หรือขอรับบริการที่ห้องพยาบาล
ครูอนามัย / ครูพยาบาลให้การดูแลรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรที่เจ็บป่วยหรือมีปัญหาสุขภาพ และส่งต่อนักเรียนหรือบุคลากรที่เจ็บป่วยปรับบริการที่สถานีอนามัยหรือโรงพยาบาล
ตัวชี้วัด
นักเรียนชั้น ม.1 ขึ้นไป ตรวจสุขภาพด้วยตนเอง โดยใช้แบบบันทึกการตรวจสุขภาพด้วยตนเอง ภาคเรียนละ 1 ครั้ง
นักเรียนได้รับการทดสอบสายตาปีละ 1 ครั้ง
มียาและเวชภัณฑ์ ที่จำเป็นในการดูแลรักษาพยาบาลเบื้องต้น
นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการช่วยเหลือ
นักเรียนและบุคลากรที่เจ็บป่วยเกินขอบเขตการบริการของห้องพยาบาล ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา
ผลที่ได้รับ
นักเรียนได้รับบริการสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย
นักเรียนทุกคนได้รับการตรวจและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพ
บทบาทพยาบาลชุมชนในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ร่วมเป็นคณะกรรมการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน โดยร่วมจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการสนับสนุนการดำเนินงานตามโครงการด้านสุขภาพของโรงเรียน
จัดสนับสนุนวิชาการ สื่อเอกสารความรู้ด้านสุขภาพแก่โรงเรียน
ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชนทำงานร่วมกันเพื่อประโยชน์ต่อสุขภาพของนักเรียน ครอบครัว และสมาชิกในชุมชน
จัดอบรมแกนนำนักเรียนด้านสุขภาพทดแทนรุ่นที่จบจากโรงเรียนไปแล้ว
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดำเนินงาน
ประโยชน์ที่ได้รับจากการเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนได้รับรู้แนวทางการส่งเสริมสุขภาพนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน และขยายผล
สู่ชุมชน
นักเรียนได้เรียนรู้วิถีชีวิตในการสร้างพฤติกรรม
ครู ผู้ปกครอง และสมาชิกของชุมชนจะได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
ตัวชี้วัดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพความสอดคล้องกับตัวชี้วัดการประเมินคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนมีโอกาสได้รับความร่วมมือและการช่วยเหลือจากชุมชนและองค์กรต่างๆ เพิ่มขึ้น
การประกาศรับรองเป็นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
ระดับทองแดง : ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 4 องค์ประกอบ
ระดับเงิน : ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 6 องค์ประกอบ
ระดับทอง : ผ่านเกณฑ์ประเมินขั้นดีมาก 8 องค์ประกอบ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
มาตรฐานที่ 1 การดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ตัวชี้วัดที่ 1
มาตรฐานที่ 2 การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำ : ตัวชี้วัดที่ 2 - 3
มาตรฐานที่ 3 ผลสำเร็จของการดำเนินงาน
3.1 ภาวะสุขภาพของนักเรียน : ตัวชี้วัดที่ 4 - 10
3.2 โครงการแก้ไขปัญหาในโรงเรียน : ตัวชี้วัดที่ 11
3.3 งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
3.3.1 น้ำบริโภคปลอดภัยและเพียงพอ : ตัวชี้วัดที่ 12
3.3.2 สุขาน่าใช้ : ตัวชี้วัดที่ 13
3.3.3 โภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร : ตัวชี้วัดที่ 14 - 16
3.3.4 การป้องกันอุบัติเหตุ ตัวชี้วัตที่ 17
3.3.5 การป้องกันแก้ไขมลภาวะที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ : ตัวชี้วัดที่ 18-19
นางสาวเกียรติสุดา จีนจิ้ว 610105