Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 บทบาท…
หน่วยที่ 8 บทบาท หน้าที่และศักยภาพของนักส่งเสริม
8.1 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของนักส่งเสริม นักส่งเสริมหมายถึงบุคคลที่จัดบริการความรู้แก่เกษตรกรหรือเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรเกิดการเรียนรู้และเปลี่ยนแปลงทางความรู้ทัศนคติและพฤติกรรม
1 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
1.1 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมที่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2 รัฐวิสาหกิจ
3 องค์การมหาชน
1 ส่วนราชการ
1.2 เจ้าหน้าที่ส่งเสริมที่ไม่สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้แก่ เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หน่วยพัฒนาการทหารเคลื่อนที่ อบต กศน
2 นักส่งเสริมภาคเอกชน
2.1 นักส่งเสริมที่ทำงานในองค์กรธุรกิจ
2.2 นักส่งเสริมที่ปฏิบัติงานในองค์กรพัฒนาเอกชน
3 นักส่งเสริมภาคประชาชน
3.1 นักส่งเสริมที่รวมตัวเป็นกลุ่มองค์กร
3.2 นักส่งเสริมที่เป็นปัจเจกบุคคล
8.1.2 บทบาทของนักส่งเสริม
3 บทบาทผู้ประสานงาน
3.1 การประสานงานด้านวิชาการ
3.2 การประสานงานแผนงานโครงการ
1 บทบาทผู้ถ่ายทอดความรู้
เกศินี ปายะนันทน์ บทบาท อื่นๆ
1 บทบาทนักรวมกลุ่ม
2 บทบาทนักวิจัย
2 บทบาทที่ปรึกษา
8.1.3 หน้าที่ของนักส่งเสริม หน้าที่คือกิจที่ควรทำหรือต้องทำ หน้าที่ของนักส่งเสริมตามบทบาท
3 หน้าที่ให้คำปรึกษา
4 หน้าที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูล สารสนเทศ
2 หน้าที่ส่งเสริมการรวมกลุ่ม
5 หน้าที่ในการเปลี่ยนแปลงเกษตรกร
1 หน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้
1.3 หน้าที่ถ่ายทอดความรู้
1.2 หน้าที่ผลิตสื่อการเรียนรู้
1.1 หน้าที่ศึกษาข้อมูลความรู้
ข้อพึงปฏิบัติและข้อพึงระวังของนักส่งเสริม
13 รักษาผลประโยชน์ร่วมของทุกฝ่าย
14 อย่าคิดถึงประโยชน์ส่วนตนให้นึกถึงประโยชน์ส่วนรวม
12 เข้าใจบริบทพื้นที่
15 สวมใส่ชุดให้เหมาะสมกับงาน
11 ประชาสัมพันธ์การประชุม
16 ยืนอย่างสง่าผ่าเผยและมองหน้าผู้ฟัง
10 อย่าเกรงที่จะพูดว่าไม่รู้
9 สื่อสารให้เข้าใจกระชับและชัดเจน
8 ติดต่อกับผู้ร่วมงานสม่ำเสมอ
17 แนะนำตำแหน่งผู้พูดอย่างเหมาะสม
7 ยิ้มกับทุกคน
18 เล่าเรื่องตลกอย่างเหมาะสม
6 สร้างพันธมิตรโดยเฉพาะผู้นำ
5 หลีกเลี่ยงการสร้างปรปักษ์
4 ยึดถือความถูกต้อง
19 ไม่ควรพูดจาหยาบคาย
3 ศึกษาและให้บริการแก่เกษตรกร
2 เชื่อมั่นในงานที่ทำ
1 คิดไตร่ตรอง
20 ควรพูดให้น้อย
21 ทำงานอย่างมีพลัง
22 ทำงานที่สำคัญ
23 ทำงานตามเป้าหมาย
24 พูดแต่สิ่งที่ดีและมีความรักในองค์กร
25 แสดงออกซึ่งความกล้าหาญ
8.2 การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
8.2.1 ศักยภาพและสมรรถนะของนักส่งเสริม
ความหมายและประเภทของสมรรถนะ
2 สมรรถนะหลัก
3 สมรรถนะตามสายวิชาชีพ
3.1 สมรรถนะร่วมของทุกตำแหน่งในกลุ่มงาน
3.2 สมรรถนะเฉพาะตำแหน่งในกลุ่มงาน
1 สมรรถนะขององค์กร
4 สมรรถนะด้านการบริหาร
องค์ประกอบของสมรรถนะ
5 แรงจูงใจหรือแรงขับภายใน
4 บุคลิกลักษณะประจำตัวของบุคคล
3 ทัศนคติ
2 ทักษะ
1 ความรู้ความสามารถ
8.2.2 การเสริมสร้างศักยภาพของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
องค์ประกอบสมรรถนะของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
2 ด้านทักษะ
2.2 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
2.3 การคำนวณ
2.1 การใช้คอมพิวเตอร์
2.4 การจัดการข้อมูล
3 ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล
3.1 คุณลักษณะหลักที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน
3.1.1 คุณลักษณะหลักในการปฏิบัติงานราชการ 1 มุ่งผลสัมฤทธิ์ 2 บริการที่ดี 3 สั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ 4 จริยธรรม 5 ความร่วมแรงร่วมใจ
3.1.2 คุณลักษณะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ 1 การคิดวิเคราะห์ 2 การมองภาพองค์รวม 3 การใส่ใจและพัฒนาผู้อื่น 4 การสั่งการตามอำนาจหน้าที่ 5 การสืบเสาะหาข้อมูล 6 ความเข้าใจข้อแตกต่างทางวัฒนธรรม 7 ความเข้าใจผู้อื่น 8 ความเข้าใจองค์กรและระบบราชการ 9 การดำเนินการเชิงรุก 10 การตรวจสอบความถูกต้องตามกระบวนงาน 11 ความมั่นใจในตนเอง 12 ความยืดหยุ่นผ่อนปรน 13 ศิลปะการสื่อสารจูงใจ 14 สุนทรียภาพทางศิลปะ 15 ความผูกพันที่มีต่อส่วนราชการ 16 การสร้างสัมพันธภาพ
3.2 คุณลักษณะทางการบริหาร
1 ด้านความรู้ความสามารถ
1.4 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
1.5 การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านการเกษตร
1.3 การจัดทำแผนการพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม
1.6 การส่งเสริมเคหกิจ
1.2 การพัฒนาองค์กรเกษตรกร
1.1 การจัดกระบวนการเรียนรู้
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาครัฐ
2 การวางแผนการเสริมสร้างศักยภาพให้สอดคล้องกับสมรรถนะ
3 การควบคุมคุณภาพในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ
1 การกำหนดสมรรถนะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน
4 การประเมินประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานบนพื้นฐานของสมรรถนะ
8.2.3 การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคเอกชน องค์ประกอบ เช่นเดียวกับนักส่งเสริมภาคอื่นๆ แต่อาจมีแนวโน้ม ให้เกิดสมรรถนะในการปฏิบัติงานเพื่อผลตอบแทนเชิงธุรกิจ มากกว่าผลประโยชน์ของสังคมเป็นหลัก
2 ด้านทักษะ 2.1 การใช้คอมพิวเตอร์ 2.2 การบริหาร 1 การสร้างทีมงาน 2 การบริหารและการพัฒนาอื่นๆ 2.3 การสื่อสาร
3 ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล 3.1 ทางความคิดสร้างสรรค์ 3.2 ความเชื่อมั่นในตนเอง
1 ด้านความรู้ความสามารถ 1.1 ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ 1.2 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้า 1.3 ความรู้การบริหารการเงิน
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคเอกชน
3 การกำหนดสมรรถนะของบุคลากร
4 การกำหนดรายละเอียดงาน
2 การกำหนดสมรรถนะหลักขององค์กร
5 กิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้
5.1 การฝึกอบรม
5.2 การฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงาน
1 การกำหนดวิสัยทัศน์พันธกิจหรือค่านิยมขององค์กร
8.2.4 การเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคประชาชน เน้นหนักไปที่การพัฒนาตนเองให้อยู่รอด และนำพารายอื่นๆให้ทำการเกษตรให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคประชาชน
2 การเรียนรู้งานจากการลงมือปฏิบัติงานจริง
3 การเรียนรู้งานจากการวิจัย
1 การเรียนรู้งานจากการสอนงาน
8.3 กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริม
8.3.2 กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคเอกชน
2 การนำอ้อยเข้าหีบ
2.3 ติดตาม
2.2 ประชุมกลุ่มตัด
2.1 การวัดปริมาณความหวานน้ำตาลในแปลงปลูก
3 การจัดการงานเอกสาร
3.1 จัดการเอกสารสัญญา
3.2 ติดตามเอกสารการชำระเงิน
1 การสร้างอ้อย
1.1 การถ่ายทอดความรู้
1.2 การติดตามการผลิต
1.3 ประเมินจำนวนตัน
8.3.3 กรณีศึกษาการเสริมสร้างศักยภาพของนักส่งเสริมภาคประชาชน
3 สนับสนุนและพัฒนาขีดความสามารถของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนในเครือข่าย
4 การประกวดนวัตกรรม
5 การจัดเวทีสรุปถอดบทเรียนองค์ความรู้การดำเนินงานและรายงานผล
2 การพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่ายระดับกลุ่มจังหวัด
กรอบในการดำเนินการ 1 การพัฒนาขีดความสามารถของสมาชิกเครือข่ายระดับประเทศ
6 จัดทำชุดสื่อวีดีทัศน์บทเรียนกรณีตัวอย่างเพื่อเผยแพร่
8.3.1 กรณีศึกษาของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมภาครัฐ
ระบบ e Learning ของกรมส่งเสริมการเกษตร