Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การกลับเป็นซ้ำ…
การพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันภาวะแทรกซ้อน การกลับเป็นซ้ำ และการสร้างเสริมสุขภาพผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
การพยาบาลระยะผ่าตัด
-
การจัดท่านอน
- ท่านอนหงาย (dorsal position/ supine position) เป็นท่าส าหรับผู้ป่วยที่อ่อนเพลีย
ไม่รู้สึกตัว ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ และเตรียมตรวจอวัยวะด้านหน้าของร่างกาย
- ท่านอนตะแคง (lateral position) ท่านี้ช่วยให้น้ าหนักร่างกายตกลงบริเวณด้านข้าง
ของลำตัว สะบักและสะโพก รวมทั้งช่วยลดการกดทับบริเวณส่วนหลังของร่างกาย และยังใช้เพื่อ
เตรียมตรวจอวัยวะด้านข้างของร่างกาย
- ท่านอนหงายศีรษะสูง (Fowler’sูposition) เป็นท่านอนที่จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง
60 ถึง 90 องศา
- ท่านอนตะแคงซ้ายกึ่งคว่ า (Sim’sูposition) เป็นท่าที่ใช้ส าหรับการเตรียมตรวจ หรือ
ให้การพยาบาลที่เกี่ยวข้องกับระบบขับถ่ายอุจจาระ
- ท่านอนคว่ า (prone position) ท่านี้เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว ช่วยทำให้น้้ำลาย
และเสมหะของผู้ป่วยไหลออกจากปาก จมูกได้สะดวก ลิ้นไม่ปิดกั้นทางเดินหายใจ
- ท่านอนคว่ าคุกเข่า (knee-chest position) เป็นท่าเพื่อเตรียมตรวจ หรือผ่าตัดบริเวณ
ทวารหนัก และลำไส้ใหญ่ส่วนปลายจัดท่าโดยให้ผู้ป่วยนอนคว่ำยกก้นขึ้น ให้ต้นขาตั้งฉากกับที่นอน
วางแขนข้างล าตัวในท่างอข้อศอก หันหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งใช้หมอนหนุนใต้ศีรษะ อก และท้อง
- ท่านอนศีรษะต่ าปลายเท้าสูง (Trendelenburg position) เป็นท่านอนส าหรับผู้ป่วย
ที่เสียเลือดมากเพื่อให้เลือดมาเลี้ยงสมองให้มากขึ้น โดยยกเตียงส่วนปลายเท้าให้สูงขึ้น ศีรษะไม่หนุนหมอน
- ท่านอนหงายชันเข่า (dorsal recumbent position) เป็นการจัดท่าเพื่อใช้ส าหรับ
การรักษาพยาบาลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ เช่น ตรวจบริเวณช่องคลอด
- ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง (lithotomy position) เป็นการจัดท่าเตรียมตรวจ
เฉพาะเหมือนกับท่านอนหงายชันเข่าต่างกันที่ท่านี้ช่วยให้ผู้ตรวจหรือผู้ให้การรักษาพยาบาลสามารถ
เข้าใกล้บริเวณที่ต้องตรวจได้มากขึ้น ทำให้สะดวกและถนัด
-
2.ระยะการผ่าตัด
การเย็บแผล
การเย็บแผล เป็นหัตถการที่อยู่ในขอบเขต ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ชั้นหนึ่ง สามารถปฏิบัติได้โดยก่อนปฏิบัติหัตถการใด ๆ ควรมีการประเมินเสียก่อน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เมื่อท่านต้องพบผู้ป่วยที่มีบาดแผลมาและจะต้องลงความเห็นว่า ควรเย็บหรือไม่ควรเย็บ
ซึ่งการประเมินบาดแผล ประกอบด้วย
- ดูการสูญเสียเลือด ว่ามีเลือดออกภายนอกให้เห็น หรือว่ามีเลือดออกภายใน ซึ่งต้องประเมิน
โดยใช้สัญญาชีพเป็นหลัก
- ดูขนาดและลักษณะของบาดแผลว่ามีการถลอก ฟกช้ า ห้อเลือด หรือแผลฉีกขาด หรือไม่
โดยวัตถุประสงค์ในการเย็บแผล
- เพื่อการห้ามเลือด (Stop bleeding)
- ซ่อมแซมส่วนที่บาดเจ็บ( Reconstruction)
- ลดอาการปวดและการติดเชื้อ (Decrease pain and infection)
- ลดรอยแผลเป็นที่อาจเกิดจากบาดแผลนั้น ๆ ( Reduce scar)
- รวมถึงเพิ่มการหายของแผล( Increase healing of ulcer)
-
-
-
-
-