Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ 14 ปี G1P0 GA 32+5 wks. with preterm labour with teenage…
หญิงตั้งครรภ์ 14 ปี G1P0 GA 32+5 wks. with preterm labour with teenage with UTI
ประวัติหญิงตั้งครรภ์
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน
1 วันก่นมาโรงพยาบาลมีอาการเจ็บครรภ์ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีมูกเลือด มีปัสสาวะแสบขัด ไม่มีเลือดปน 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลมีอาการเจ็บครรภ์คลอดถี่ขึ้น PV : cervix dilatation 8 cm, Effacement 80%, Station 0 , Membrane Intact
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธการผ่าตัด
ปฏิเสธการแพ้ยา
อาการสำคัญ
เจ็บครรภ์คลอด 8 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ปฏิเสธการเจ็บป่วยในครอบครัว
ประวัติทางสูติกรรม
G1P0000 LMP : UCD, EDC : 12/12/65 GA 32+5 wks by U/S
Preterm Labor
การคลอดก่อนกำหนด (Preterm Labor) เป็นภาวะการคลอดก่อนอายุครรภ์ครบ 37 สัปดาห์ ซึ่งทารกเหล่านี้ถึงแม้ว่าอวัยวะต่าง ๆ ครบสมบูรณ์ แต่การทำงานของอวัยวะแทบทุกส่วนยังไม่ดีเท่าทารกครบกำหนด ซึ่งช่วงหลังคลอดมักต้องการการดูแลเป็นพิเศษและต้องอยู่รักษาในโรงพยาบาลนานกว่าปกติ
สาเหตุ
อายุ น้อยกว่า 18 ปี และมากกว่า 35 ปี
น้ำหนักตัว น้ำหนักตัวที่น้อยกว่าเกณฑ์
ประวัติทางสูตินรีเวชกรรม ในกรณีที่คุณแม่เคยมีประวัติการคลอดก่อนกำหนดมาก่อน
สภาพเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว
ความเครียด
การดื่มแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การใช้สารเสพติด
การรับประทานยาบางชนิดที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก
เกิดอุบัติเหตุในขณะตั้งครรภ์
การมีเพศสัมพันธ์ขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อ คุณแม่มีการติดเชื้ออย่างรุนแรงในร่างกาย เช่น การติดเชื้อในระบบสืบพันธุ์, การติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะหรือของไต
จากกณณีศึกศึกติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
teenage pregnancy
การตั้งครรภ์วัยรุ่น (Teenage pregnancy/
Adolescent pregnancy) คือ การตั้งครรภ์ของสตรีที่มีอายุระหว่าง 10-19 ปีเมื่อนับถึงกาหนดคลอด ซึ่งสอดคล้องกับนิยามของประเทศไทยที่กล่าวว่า มารดาวัยรุ่น หมายถึง หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่อายุน้อยกว่า 20 ปีโดยนับอายุถึงวันคะเนกำหนดคลอด
จากกรณีศึกษา เป็นหญิงตั้งครรภ์อายุ 14 ปี G1P0 GA 32+5 wks. ซึ่งอายุน้อยกว่า 20 ปี ถือว่าเป็น Teenage pregnancy
Urinary Tract Infection : UTI
สาเหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากการติดดเชื้อ E.coli ที่ปนเปื้อนมากับอุจจาระและเข้าสู่ท่อปัสสาวะภายหลังการอุจจาระและทำความสะอาดไม่ถูกวิธี
การมีเพศสัมพันธ์
มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและระดบฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนที่เพิ่มขึ้น ทำให้มีการคลายตัวของท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งทำให้ง่ายต่อการติดเชื้อ
สตรีตั้งครรภ์จะมีปัสสาวะคงค้างในกระเพาะปัสสาวะมากกว่าปกติ ซึ่งมีผลให้เกิดการสะสมและมีการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย
ระบบภูมิต้านทานของร่างกายทำงานช้าลงเมื่อมีการตั้งครรภ์ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด
ปัสสาวะขุ่น
ปัสสาวะมีเลือดปนร่วมกับปวดบริเวณหัวเหน่า
ปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะกลางคืน
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ปัสสาวะไม่พุ่ง
ปัสสาวะออกช้า
ผลกระทบ
ต่อทารก
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกมีความพิการทางสมอง
ทารกเสียชีวิต
ต่อมารดา
คลอดก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อภาวะไตล้มเหลวระหว่างตั้งครรภ์ได้
เสี่ยงต่อการแท้ง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.มารดาเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
2.เสี่ยงต่อภาวะคลอดก่อนกำหนด เนื่องจากมีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
3.เสี่ยงต่อภาวะ Fetal distress เนื่องจากมีการหดรัดตัวของมดลูกถี่ขึ้น
4.มารดาเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับอันตรายจากการติดเชื้อในระหว่างตั้งครรภ์
นางสาวปรารภนา กองทอง เลขที่ 28 รหัสนักศึกษา 61128301029