Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Analysis, หญิงไทยอายุ 41 ปี G2P1 Last 2 years GA 37 weeks by U/S…
Case Analysis
Elderly pregnancy สตรีตั้งครรภ์อายุ > 35
ปัจจัยส่งเสริม
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
ค่านิยม>ความต้องการการก้าวหน้าในหน้าที่การงานเพิ่มขึ้น
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีช่วยเจริญพันธุ์>ทำให้คู่สมรสมั่นใจในด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น เลือกที่จะมีบุตรเมื่อพร้อม
ระดับการศึกษา>สตรีมีการศึกษาสูง คิดว่าสามารถพึ่งตนเองได้ ไม่สนใจเรื่องแต่งงาน
แนวทางการดูแลในระยะตั้งครรภ์
1.กระตุ้นและแนะนำให้มีการฝากครรภ์ตามนัด
2.อธิบายให้ทราบและเข้าใจถึงความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนในระยะตั้งครรภ์
3.แนะนำการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ด้านโภชนาการ และการสังเกตผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
4.สอนและเน้นถึงความสำคัญของการสังเกตการดิ้นของทารกในครรภ์ เพื่อประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
แท้ง
ตกเลือดหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
PIH,GDM
ปัญหาในระยะคลอด
preterm labor >การเจริญเติบโตไม่สมบูรณ์เต็มที่
cesarian section>มีโอกาสได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกน้ำหนักน้อย
เสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติด้านโครโมโซม พบสูงขึ้น ที่พบได้บ่อย > Down's syndrome
ทารกตายคลอด
(Small for gestational age) SGA
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
เพิ่มโอกาสในการใช้สูติศาสตร์หัตถการ
สาเหตุ
เกิดจากความผิดปกติของมารดา รก และทารก
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
1.ภาวะสูดสำลักขี้เทา meconium aspiration syndrome คือ ภาวะที่ทารกในครรภ์สูด สำลักหรือหายใจเอาขี้เทาที่มีอยู่ในน้ำคร่ำเข้าไปในหลอดลมหรือปอด
4.hypothermia
2.ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ hypoglycemia
5.hyperbilirubin
3.เลือดข้น polycythemia
ปัญหา
ทารกมีน้ำหนักน้อยกว่าอายุครรภ์
แนวทางแก้ไข/ดูแลระยะตั้งครรภ์
1.อธิบายเกี่ยวกับทารกเจริญเติบโตช้ารวมถึงแผนการรักษาและเปิดโอกาสให้มารดาได้ซักถ่มข้อสงสัย
2.แนะนำให้มารดาพักผ่อนให้เพียงพอ โดยท่านอนควรนอนท่าตะแคงเพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูก
แนะนำให้มารดานับลูกดิ้น โดยถ้ารู้สึกว่าลูกไม่ดิ้นหรือดิ้นน้อยลงให้รีบมาโรงพยาบาล
ติดตามการเพิ่มน้ำหนักของมารดา
Anemia
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
1.ตกเลือดหลังคลอด
2.ติดเชื้อง่าย
3.คลอดก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อทารก
1.ทารกน้ำหนักตัวน้อย
2.ขาดออกซิเจน
3.ทารกตายคลอด
แนวทางแก้ไข/ดูแลระยะตั้งครรภ์
1.ประเมินปัจจัยเสี่ยงโดยตรวจตั้งแต่ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์
2.เน้นรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
3.รับประทานผลไม้รสเปรี้ยว เพิ่มการดูดซึมของะาตุเหล็ก
4.ไม่ควรดื่มนมร่วมกับยาธาตุเหล็ก เพราะจะขัดขวางการดูดซึม
5.เน้นย้ำเรื่องการรับประทานยาให้ครบ
Malposition RtScA ท่าผิดปกติของท่ารก
ผลกระทบต่อหญิงตั้งครรภ์
1.มดลูกแตก
2.อาจเกิดการติดเชื้อจากการทำหัตการช่วยคลอด
3.อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอด
ผลกระทบต่อทารก
1.อาจเกิดภาวะไหลติดในระยะคลอด
ปัยหาปัจจุบันที่ยังไม่ได้รับการรักษา
ปัญหา หญิงตั้งครรภ์มีภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
ข้อมูลสนับสนุน
urine sugar +1,GCT 142%
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
1.ติดเชื้อง่าย เนื่องจากน้ำตาลเป็นอาหารชั้นดีของ bacteria
2.ครรภ์แฝดน้ำ เนื่องจากทารกในครรภ์มีการถ่ายปัสสาวะมาก
3.การคลอดยาก จากการที่ทารกมีขนาดใหญ่
ผลต่อทารกในครรภ์
1.ทารกขาดสารอาหารและออกซิเจน เกิด SGA , DFIU
2.Macrosomia
แนวทางการดูแลระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ปัญหา หญิงตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูง
ข้อมูลสนับสนุน
ครั้งที่1 140/94 mmHgn
ครั้งที่2 130/0 mmHg
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
1.abruption placenta ,DIC,myocardial infection
ผลต่อทารกในครรภ์
1.fetal distress,DFIU,still biryh,IUGR
แนวทางการดูแลระยะตั้งครรภ์
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะความดันโลหิตสูง สาเหตุ อาการ ผลกระทบ การดูแลตนเอง เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ตระหนักในการดูแลตัวเอง ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด
หญิงไทยอายุ 41 ปี G2P1 Last 2 years GA 37 weeks by U/S elderly pregnancy