Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Case Analysis
หญิงไทยอายุ 41 ปี G2P1 Last 2 year
GA 37 weeks by U/S…
Case Analysis
หญิงไทยอายุ 41 ปี G2P1 Last 2 year
GA 37 weeks by U/S,Elderly pregnancy,malposition,RtScA,SGA
anemia
📌ปัญหาด้านหญิงตั้งครรภ์
-
ข้อมูลสนับสนุน
O: ผล GCT = 142mg/dl , วันที่ 16/6/64 ภายใน 1 สัปดาห์น้ำหนักเพิ่มขึ้นจากเดิม 2.8 กิโลกรัม , Urine sugar 1+
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำตาลในเลือดมีผลต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจและปฏิบัติตัวอย่างถูกต้อง ในการลดภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์
2.แนะนำการรับประทานอาหารเพื่อควบคุมและลดภาวะแทรกซ้อนจากน้ำตาลในเลือดสูงให้ครบ 5 หมู่ เน้นจำพวกผักผลไม้ ลดอาหารที่มีน้ำตาลสูง ลดคาร์โบไฮเดรต และเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน
3.แนะนำการออกกำลังกาย เช่น การเดินนาน ขี่จักรยานอยู่กับที่ ว่ายน้ำ เป็นต้น เพื่อให้ร่างกายได้นำน้ำตาลไปใช้เป็นพลังงาน
-
5.แนะนำเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ที่ถูกต้องเพราะขณะตั้งครรภ์ผิวหนังแห้งเกิดแผลได้ง่าย มีตกขาวเยอะ ปัสสาวะบ่อย จึงมีโอกาสเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
-
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ที่จะส่งผลต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ให้หญิงทราบเพื่อให้เข้าใจปฏิบัติตัวได้ถูกต้องและลดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
-
3.แนะนำให้สังเกตอาการ คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ตาพร่า ปวดจุกเสียดบริเวณชายลิ้นปี่ เพราะเป็นอาการนำที่จะทำให้เกิดอาการชักจากความดันโลหิตสูง หากมีอาการเหล่านี้ให้รีบมาพบแพทย์ทันที
-
5.แนะนำอยู่ในสภาพแวดล้อมที่สงบ และหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น เช่น แสง สี เสียง ที่จะทำให้เกิดความดันโลหิตสูงมากขึ้น
-
-
เกณฑ์การประเมิน : ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เช่น เหนื่อยง่าย กระหายน้ำ ตามัว อ่อนเพลีย
-
-
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
1.แนะนำให้รับประทานยาเสริมธาตุเหล็กสม่ำเสมอและอธิบายให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจว่าธาตุเหล็กร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้ต้องได้มาจากการรัปประทานยาเสริมธาตุเหล็กและการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กเท่านั้น
2.แนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ตับ ผักใบเขียว เครื่องใน หรืออาหารที่ส่งเสริมการดูดซึมมของธาตุเหล็ก เช่น ผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง ส้ม ฝรั่ง หลีกเลี่ยงอาหารที่ขัดขวางการดูดซึมของธาตุเหล็ก เช่น นม ชา กาแฟ
3.แนะนำสังเกตอาการ หน้ามืด เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย หากมีอาหารเหล่าให้หยุดทำกิจกรรมแล้วนอนพัก หากอาการไม่ดีขึ้นให้รีบมาพบแพทย์
4.ให้กำลังใจและกล่าวชมเชยเมื่อหญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองได้จะทำให้รู้สึกมีแรงจูงใจ กำลังใจที่ดีในการปฏิบัติตัวต่อไป
-
-
-
-
การพยาบาล
1.ประเมินความวิตกกังวลและความรู้กี่ยวกับกลไกการคลอด การเจ็บครรภ์ และการผ่าตัดคลอดโดยการซักถามและสังเกตพฤติกรรม
2.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์เข้าใจเกี่ยวกับกลไกการคลอด เหตุผลในการผ่าตัดประโยชน์ผลดี ขั้นตอนการเตรียมผ่าตัด ลักษณะห้องผ่าตัด กรใช้ยาระงับความรู้สึกขณะผ่าตัด และการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง
3.อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบว่าตลอดการผ่าคลอดหญิงตั้งครรภ์จะอยู่ภายใต้การดูแลของทีมแพทย์ พยาบาล และทุกคนพร้อมจะให้การช่วยเหลือมารดาให้ปลอดภัยตลอดเวลา
-
-
-
-
-