Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน - Coggle Diagram
การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน
สุขภาพเด็กวัยเรียน
ปัญหาสุขภาพของเด็กวัยเรียน
โรคผิวหนัง
โรคติดเชื้อ
ปัญหาสุขภาพช่องปาก
ปัญหาโภชนาการ
ความผิดปกติของสายตา
อุบัติเหตุและการบาดเจ็บ
การใช้สารเสพติด
ปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์ และพฤติกรรม
พฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยเรียน
พฤติกรรมการออกกำลังกาย
พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
พฤติกรรมการผ่อนคลาย
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพเด็กวัยเรียน
ด้านตัวเด็ก
วัย เด็กวัยนี้ ระบบภูมคุ้มกันยังพัฒนาได้ไม่เต็มที่ เป็นวัยที่มีภูมิต้านทานต้อโรคต่ำ ความสามารถในการดูแลตนเอง และการเผชิญความเครียดมีจำกัด จึงทำให้เกิดการเจ็บป่วยได้ง่าย
พันธุกรรม โรคบางโรคสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น ธาลัสซีเมีย ฮีโมฟีเลีย เบาหวาน
เพศ โรคบางโรคจะพบในเด็กผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย เช่น การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ ในขณะที่พบปัญหาการบาดเจ็บที่เกิดจากการเล่นกีฬาในเด็กผู้ชายมากกว่า
ด้านครอบครัว
สัมพันธภาพและบรรยากาศของครอบครัว
พฤติกรรมสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว
การอบรมเลี้ยงดู
ระดับการศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
ด้านสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดลเอมด้านสังคม ได้แก่ โรงเรียน เพื่อนนักเรียนและครู สื่อต่างๆ
ด้านระบบบริการสุขภาพ การบริการสุขภาพทั้งในและนอกโรงเรียน
สิ่งแวดล้อมด้านกายภาพและชีวภาพ ทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรียน
งานอนามัยโรงเรียน
บทบาทหน้าที่พยาบาลชุมชนในงานอนามัยโรงเรียน
การสร้างเสริมสุขภาพ
การตรวจสุขภาพนักเรียนเป็นการค้นหานักเรียนที่มีโรคหรือข้อบกพร้องทางด้านสุขภาพ
การให้ความรู้เรื่องการตรวจสุขภาพนักเรียนแก่ครูหรือนักเรียนจะทำให้ผู้รับการตรวจสนใจ
การลงบันทึกบัตรสุขภาพนักเรียน ทุกคนต้องมีบัตรบันทึกสุขภาพประจำตัว
การส่งเสริมการออกกำลังกาย โดยการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกาย
การป้องกันโรค
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เนื่องจากนักเรียนอยู่รวมกันโอกาสที่โรคติดต้อจะแพร่กระจายจากคนหนึ่งไปยังอีกคนหนึ่ง
การจัดสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ เพื่อสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยแก่นักเรียน
ตลอดจนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ชุมช
การรักษาพยาบาลนักเรียนที่เจ็บป่วย
เมื่อพยาบาลที่รับผิดชอบอนามัยโรงเรียนตรวจสุขภาพนักเรียนแล้วพบว่ามีนักเรียนเจ็บป่วย เช่น หวัด หิด เหา กลาก เกลื้อนฯลฯ พยาบาลจะต้องรักษานักเรียนที่เจ็บป่วยทุกโรคที่สามารถรักษาได้ แต่ถ้ารักษาไม่ได้ เช่น ฟันผุ ไส้ติ่ง อักเสบ ต้องส่งต่อนักเรียนไปรับการรักษาที่ถูกต้องต่อไป
การฟื้นฟูสภาพนักเรียน
พยาบาลที่รับผิดชอบงานอนามัยโรงเรียนมีหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีความผิดปกติ ทางด้านร่างกาย
และจิตใจ เพื่อให้นักเรียนสามารถปรับตัวและคงไว้ซึ่งการทำงานของร่างกาย เพื่อดำรงชีวิตปกติให้ได้มากที่สุด
ขั้นตอนการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน
การประเมินสภาวะสุขภาพอนามัยของนักเรียน
1.1 การตรวจสุขภาพนักเรียน
1.2 การสำรวจอนามัยสิ่งแวดล้อม
การวางแผนแก้ปัญหา
การประสานงาน เป็นหนึ่งสิ่งที่สำคัญการได้รับความร่วมมือจากฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบ้านกับโรงเรียนและโรงเรียนกับชุมชน ช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ควรดำเนินการดังนี้
การประชุมครู
การประชุมผู้ปกครอง
การปฏิบัติงานตามแผน
การจัดทำโครงการแก้ไขปัญหา
การประเมินผล
การตรวจสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน
ขั้นตอนการตรวจสุขภาพนักเรียน
การจัดเตรียมอุปกรณ์ในการตรวจสุขภาพ
การดำเนินการตรวจสุขภาพ การบันทึกผลการตรวจสุขภาพ
การวางแผนการตรวจสุขภาพ
การติดตามผลการช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ
การตรวจร่างกายทั่วไป 10 ท่า
การเตรียมสถานที่ อุปกรณ์ และเตรียมนักเรียน
สถานที่ควรเป็นห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอ มีโต๊ะและเก้าอี้สำหรับผู้ตรวจ
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น เช่น ไฟฉาย ไม้กดลิ้น ปรอทวัดอุณหภูมิ หูฟัง เป็นตัน
อธิบายให้นักเรียนทราบถึงวัตถุประสงค์ของการตรวจ วิธีการตรวจ ท่าที่ตรวจ
ควรแยกตรวจนักเรียนชายหญิง หรือตรวจนักเรียนชายให้หมดแล้วให้กลับห้อง
วิธีการตรวจร่างกายทั่วไป
ให้นักเรียนถอดรองเท้าและถุงเท้า นักเรียนชายให้ถอดเสื้อออกด้วย ส่วนนักเรียนหญิง ให้ปลดกระดุมเสื้อเม็ดบนออก เพื่อให้ผู้ตรวจได้มองเห็นถึงความผิดปกติของร่างกายอย่างชัดเจน
ผู้ตรวจควรนั่งหันหลังให้แสงสว่าง ส่วนนักเรียนที่จะให้ตรวจยืนหันหน้าเข้าหาผู้ตรวจ ห่าง ประมาณ 2 ฟุต ทำท่าที่ใช้ในการตรวจร่างกายทั้ง 10 ท่า
ขณะตรวจผู้ตรวจต้องสัมภาษณ์ไปด้วยทุกขั้นตอน ถ้าตรวจพบว่ามีปัญหาสุขภาพ ก็ให้ทำการ ตรวจโดยละเอียดอีกครั้ง
ขณะตรวจผู้ตรวจไม่ควรสัมผัสร่างกายของนักเรียน ถ้าหากต้องสัมผัส ภายหลังการสัมผัสให้ล้าง มือให้สะอาด ทั้งนี้เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ในการตรวจร่างกายของนักเรียน ผู้ตรวจต้องพิจารณาน้ำหนัก ส่วนสูง ผลการทดสอบสายตา ผลการทดสอบการได้ยิน และผลการตรวจสุขภาพเหงือกและฟัน ประกอบไปด้วยทุกครั้ง
อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
อนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ
สถานที่ตั้ง
ควรเป็นสถานที่ในย่านกลางเมืองที่มีการคมนาคมสะดวก ไม่ควรห่างจากย่านชุมชนเกินกว่า 2 กิโลเมตร มี
เนื้อที่ไม่น้อยกว่า 2 ไร้ หรือตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
อาคารเรียน
ควรสร้างอาคารเรียนให้พอเหมาะกับจำนวนนักเรียน อย่างไรก็ตาม ควรคำนึงถึงจำนวนนักเรียนในภายหน้าไว้
ด้วย ขอให้คำนึงถึงความมั่นคงแข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักนักเรียน อ
พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
ขนาดของห้องเรียนควรเป็น 6 X 8 เมตร หรือ 7 X 8 เมตร บรรจุนักเรียนได้ 30 - 40 คน อัตรา เฉลี่ยเนื้อที่ภายในห้องเรียนควรเป็น 1.50 - 2.00 ตารางเมตรต่อนักเรียน 1 คน มีแสงสว่างพอเหมาะ มีช่องว่างเพื่อความ สะดวกแก่การเดินตรวจของครูทำให้สามารถเข้าถึงนักเรียนได้ทุกโต๊ะ ห้องเรียนสะอาด มีระเบียบและมีที่ใส่ผงขยะ
การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
น้ำดื่ม – น้ำใช้
น้ำดื่มน้ำใช้ ทุกโรงเรียนจำเป็นต้องจัดให้มีน้ำสะอาดไว้ให้นักเรียนดื่มและใช้อย่างเพียงพอ โดยน้ำดื่มควรจัดไว้ ให้ประมาณคนละ 1 ลิตรต่อวันในช่วงระยะเวลาที่เด็กอยู่ในโรงเรียน สำหรับน้ำประปาเป็นน้ำที่ปลอดภัยแต่มีไม่ทั่วถึง โรงเรียนใดมีน้ำประปาควรใช้น้ำประปาควรใช้น้ำประปาสำหรับดื่มเพราะเป็นน้ำที่ได้รับการกรอง และใส่ยาฆ่าเชื้อโรคแล้ว
การจัดการขยะ
ในโรงเรียนจะมีทั้งขยะแห้งและขยะเปียก การกำจัดควรพิจารณาตามประเภทของขยะ ซึ่งวิธีการควรมีความ เหมาะสม ปลอดภัยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมโดยรอบของโรงเรียน สำหรับโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลหรือ สุขาภิบาลมักไม่มีปัญหาในการกำจัดขยะเนื่องจากมีหน่วยงานรักษาความสะอาดของเทศบาลและสุขาภิบาลเป็นผู้มาเก็บ รวบรวมขยะเพื่อนำไปกำจัด ส่วนในโรงเรียนที่อยู่นอกเขตหรือชนบท อาจจะต้องกำจัดขยะของโรงเรียนเองด้วยวิธี การ เผาในเตาเผา การฝัง การหมักทำปุ้ย เป็นต้น
การจัดการน้ำเสีย
น้ำเสียของโรงเรียนเป็นน้ำเสียที่ผ่านการใช้งานจากกิจกรรมต่างๆ แล้วทำให้มีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลงไปทั้ง ทางกายภาพ เคมี และชีววิทยา ในน้ำเสียมักมีสารอินทรีย์ปนเปื้อนอยู่ หากปล่อยทิ้งไว้จะทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิด ความรำคาญ และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงวันและสัตว์พาหะนำโรค
การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
บทบาทพยาบาลชุมชนในการสนับสนุนเพื่อพัฒนาสู่โรงเรียนส่งเสริมส ุขภาพ
ร่วมเป็ นคณะกรรมการส่งเสริมส ุขภาพของโรงเรียน
ประสานงานและให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
จัดสนับสนุนวิชาการ สื่อเอกสารความรู้ด้านส ุขภาพแก่โรงเรียน
ส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนและชุมชนทํางานร่วมกัน
จัดอบรมแกนนํานักเรียนด้านส ุขภาพทดแทนร ุ่นที่จบจากโรงเรียนไปแล้ว
ติดตามประเมินผล รวบรวมข้อมูลการดําเนินงาน
การประกาศรับรองเป็ นโรงเรียนส่งเสริมส ุขภาพ
เมื่อโรงเรียนได้ผ่านการประเมินเพื่อการรับรองเป็ นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพจากทีมประเมินแล้ว โรงเรียนจะได้รับใบประกาศเกียรติคุณจากกระทรวงสาธารณสุข ดังนี้
- ระดับทองแดง - ระดับเงิน - ระดับทอง
การรับรองมีอายุ 3 ปี นับจากวันที่ระบุไว้ในใบประกาศเกียรติคุณ และการเลื่อนระดับของการประเมินสามารถทําได้ ตามความพร้อมของโรงเรียน
โครงการโรงเรียนส่งเสริมส ุขภาพระดับเพชร
หลังจากโรงเรียนผ่านการประเมินรับรองเป็ นโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองแล้ว ต่อมาเป็ นการพัฒนาโรงเรียนสู่เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ที่
เน้นการวัดผลลัพธ์ด้านสุขภาพ
พฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน และผลการดําเนินงานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร (ต่อ) มาตรฐานที่ 1 การดําเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ : ตัวชี้วัดที่ 1 มาตรฐานที่ 2 การดําเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนํา : ตัวชี้วัดที่ 2 - 3 มาตรฐานที่ 3 ผลสําเร็จของการดําเนินงาน – ภาวะสุขภาพของนักเรียน - โครงการแก้ไขปั ญหาในโรงเรียน - งานตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะมีชีวิตรอด (Right of Survival) คือ สิทธิในการอย่รอดปลอดภัยตั้งแต่เมื่อคลอด ไม่ว่าเด็กคนนั้นจะเกิดมาปกติ หรือเกิดมาพร้อมกับ ความบกพร่องทางร่างกายหรือจิตใจก็ตาม
สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา (Right of Development) คือ สิทธิที่จะได้รับการสนับสนุนด้านการศึกษาตามมาตรฐาน ความเป็ นอย่และโภชนาการที่เหมาะสมตามวัย รวมถึงการส่งเสริมเสริมพัฒนาการทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องค้มครอง (Right of Protection) คือ สิทธิที่จะได้รับการปกป้องค้มครองจากการล่วงละเมิด และการทารุณกรรมทุ กรูปแบบ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ รวมถึงการใช้แรงงานเด็กเพื่อแสวงหาผลประโยชน์
สิทธิที่จะมีส่วนร่วม (Right of Participation) คือสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น การแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทํา รวมถึงการตัดสินใจที่มีผลกระทบต่ออนาคตของตนเอง