Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือทางระบาดวิทยา (Epidermiologr)
อัตรา(Rate)
อัตราส่วน(Ratio)
สัดส่วน(Proportion)
เครื่องมือประเมิินชุมชนโดยใช้ครอบครัวเป็นฐาน
แฟ้มสุขภาพครอบครัว(Family folder)
แบบสำรวจความจำเป็นพื้นฐาน(จปฐ)
เครื่องมือการวัดพฤติกรรมสุขภาพ(KAP Survey)
แบบสอบถามความรู้ทางสุขภาพ แบบสำรวจทางการปฏิบัติ แบบสำรวจทัศนคติ
เครื่องมือการสำรวจแบบเร่งด่วน(Rapid Survey)
เป็นการสำรวจปัญหาในพื้นที่เป้าหมาย
เครื่องมือทางมนุษยวิทยา(เครื่องมือการศึกษาชุมชน 7 ชิ้น)
แผนที่ในงานอนามัยชุมชน
ผังเครือญาติ(Genogram)
แผนผังโครงสร้างและองค์กรชุมชน(Community Organizations)
ระบบสุขภาพชุมชน
ปฏิทินชุมชน
ประวัติศาสตร์ชุมชน
ประวัติชีวิต
ข้อมูลประชากรศาสตร์ ได้แก่ แฟ้มประวัติครอบครัว : บ้านเลขที่ ที่อยู่ รายชื่อ
ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม : อาชีพ รายได้ ระดับการศึกษา ลักษณะการทำงานและปัจจัยเสี่ยง วิถีการดำเนินกิจกรรม องค์กรต้างๆในชุมชน การคมนาคม
ข้อมูลเกี่ยวกับวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ อนามัยส่วนบุคคล การป้องกันโรค แพ้ยาแพ้อาหาร
ข้อมูลเกี่ยวกับสถิติชีพและอนามัย ได้แก่ แบบสำรวจชุมชน การเจ็บป่วย ความพิการ/ทุพพลภาพ การคุมกำเนิด การได้ภูมิคุ้มกัน
หลักประกันทางด้านสุขภาพ ได้แก่ สิทธิในการรักษา สิทธิสวัสดิการ สิทธิประกันสังคม สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า สถานบริการสาธาาณสุข เจนคติบริการประชาชนต่อบริการสุขภาพ
ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน ได้แก่ น้ำที่ใช้อุปโภคบริโภค ส้วม สัตว์เลี้ยงบริเวณบ้าน ที่รองรับขยะประจำบ้าน การกำจัดน้ำเสีย พาหะนำโรค ภาชนะที่บรรจุน้ำพบ/ำม่พบลูกน้ำ
กลุ่มตัวอย่าง
เป็นส่วนหนึ่งของประชากร กลุ่มตัวอย่างที่ดี 1.ขนาดพอเหมาะ 2.ลักษณะตรงกับจุดมุ่งหมายการวิจัย 3.เป็นตัวแทนที่ดีของประชากร 4.ได้จากการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีที่เหาะสม
ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรหลักร้อย กลุ่มตัวอย่าง 15-30% ของประชากร
ประชากรหลักพัน กลุ่มตัวอย่าง 10-15% ของประชากร
ประชากรหลักหมื่น กลุ่มตัวอย่าง 5-10% ของประชากร
ประชากรหลักแสน กลุ่มตัวอย่าง 1-5% ของประชากร
ประชากร
ทุกคนที่อาศัยในบริเวณเดียวกัน ความเป็นอยู่คล้ายกัน ใช้แหล่งสาธารณประดยชน์ร่วมกัน มีลักษณะร่วมกันที่เราต้องการศึกษา
การวิเคราะห์
ลำดับขั้นในการวิเคราะห์ข้อมูล
ตรวจสอบข้อมูล
เลือกสถิติ ดัชนีอนามัย
สร้างตารางจำลอง(Dummy table)
นำข้อมูลดิบมาแจกแจงความถี่หรือแจกแจงนับ(Tally)
ทบทวนตัวเลข
เลือกใช้สถิติ
นำเสนอข้อมูล
แบ่งได้ 4 วิธี
การนำเสนอในรูปบทความ : เป็นบทความสั้นๆปนไปกับตัวเลข
การนำเสนอในรูปกึ่งตารางกึ่งบทความ : เป็นบทความ+ตัวเลขที่จัดเป็นหมวดหมู่จำนวนไม่มาก
การนำเสนอในรุปตาราง : เป็นการนำข้อมูลที่มีหลายรายการซ้ำกันมาแสดงในตาราง
การนำเสนอรูปแบบกราฟและแผนภูมิ : แสดงปริมาณ/ความสัมพันธ์กันของข้อมูลเชิงปริมาณ -กราฟแท่ง ใช้เปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างได้ชัดเจน -กราฟเส้น ใช้ดูแนวโน้มของข้อมูล -แผนภาพกง เหมาะกับการนำเสนอเป็นตัวเลข ร้อยละ
การวินิจฉัยปัญหาชุมชน
ระบุปัญหาชุมชน(Identify problem)
ใช้หลัก 5 D
ตาย Death
พิการ/ไร้ความสามารถ Disability
โรค Disease
ความไม่สุขสบาย Discomfort
ความไม่พึงพอใจ Dissatisfaction
จัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ความสนใจหรือความวิตกกังวลของชุมชนต่อปัญหา
การศึกษาสาเหตุของปัญหา
ปัญหาสุขภาพชุมชน
ความต้องการเกี่ยวกับสุขภาพของชุมชน
โครงสร้างชุมชนที่มีผลกระทบทั้งทางด้านบวกและลบต่อสุขภาพ
จุดแข็งหรือจุดเด่นของชุมชนที่นำมาช่วยพัมนาชุมชนได้
ดัชนีอนามัย
อัตราอุบัตการณ์ของโรค (Incidence rate)
(จำนวนผู้ป่วยใหม่ x 1000) / ประชากรที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือประชากรกลางปี
อัตราความชุกของโรค(Prevalence rate)
อัตราความชุกของโรคที่จุดเวลาที่กำหนด = (จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่จุดเวลาที่กำหนด x 1000)/จำนวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น
อัตราความชุกของโรคในช่วงระยะเวลาที่กำหนด = (จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่ในช่วงระยะเวลาที่กำหนด x 1000(ค่าคงที่)) /จำนวนประชากรเฉลี่ยในช่วงเวลาที่กำหนด
อัตราป่วยระลอกแรก(Primary attack rate)
(จำนวนผู้ป่วยระลอกแรก x 100 หรือ 1000) / จำนวนประชากรที่มีภูมิไวรับ
อัตราป่วยระลอกสอง(Secondary attack rate)
(จำนวนผู้ป่วยระลอกสอง x 1000) / (จำนวนประชากรที่มีภูมิไวรับ - จำนวนผู้ป่วยระลอกแรก)
อัตราตายอย่างหยาบ (Crude death rate)
(จำนวนคนตายทั้งหมดในระหว่างปี x 1000) / จำนวนประชากรกลางปีในปีเดียวกัน
อัตราตายจำเพาะ (Specific death rate)
อัตราตายจำเพาะเหตุ = (จำนวนคนตายด้วยสาเหตุที่กำหนดในระหว่างปี x 1000) / จำนวนประชากรกลางปีในปีเดียวกัน
อัตราตายจำเพาะตามอายุ = (จำนวนคนตายตามอายุที่กำหนดในระหว่างปี X 1000) / จำนวนประชากรกลางปีในกลุ่มอายุที่กำหนดในปีเดียวกัน
อัตราป่วยตาย (Case fatality rate)
(จำนวนผู้ป่วยตายด้วยโรคหนึ่งในช่วงเวลาที่กำหนด x 1000) / จำนวนผู้ป่วยในโรคนั้นทั้งหมดในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
อัตราเด็กเกิดไร้ชีพ (Fetal death rate)
(จำนวนเด็กเกิดไร้ชีพในระหว่างปี x 1000) / จำนวนเด็กเกิดมีชีพในปีเดียวกัน