Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดกำเนิดชนชาติไทย 4/8, รัฐโบราณในดินแดนไทยและพื้นที่ใกล้เคียง, : -…
แนวคิดกำเนิดชนชาติไทย 4/8
1.อัลไต
ผู้เสนอแนวคิด
ขุนวิจิตรมาตรา
จากอัลไตลงมาที่ น.เหลือง(หวางเหอ)+น.แดง(ฉางเจียง)แล้วลงมาที่สุวรรณภูมิ
ดร. วิลเลียม คลิปตัน ดอดด์
เริ่มที่อัลไตลงมาชายแดนตะวันตกของจีนแล้วลงมาที่ตอนเหนือของเวียดนาม ลาว ไทย พม่า อัสสัม
ความน่าเชื่อถือ
ไม่ได้รับการยอมรับ
อัลไตแห้งแล้งหนาว ไม่เหมาะตั้งถิ่นฐาน
ระยะไกลจากไทยในปัจจุบัน
หลักฐาน
ภาษาจากการตีความ
คำบางคำในท้องถิ่น
ความเชื่อที่เล่าต่อกันมา
แนวคิดที่3 มาจาก มณฑลเสฉวน
ผู้เสนอความคิด
สมเด็จ ฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
เทเรียน เดอ ลา คูเปอรี
หลวงวิจิตรวาทการ
พระยาอนุมานราชธน
ความน่าเชื่อถือ
ไม่ได้รับการยอมรับ
หลักฐาน
มีความคล้ายกันทางภาษา
หลักฐานประเภทภาษาศาตร์
แนวคิดที่5 มาจากคาบสมุทรอินโดจีน
ผู้เสนอแนวคิด
ศาสตราจารย์รูธ เบเนติกต์
นายแพทย์สมศักดิ์ พันธ์สมบุญ
นายแพทย์ประเวศ วะสี
หลักฐาน
หลักฐานการแพทย์ด้านพันธุศาสตร์
ตรวจเลือดคนไทยคล้ายคนอินโดนีเซีย
ความน่าเชื่อถือ
ไม่ได้รับการยอมรับ
แนวคิดที่ 2 อยู่ที่ไทยอยู่แล้ว
ผู้เสนอแนวคิด
นายแพทย์สุด แสงวิเชียร
สุจิตต์ วงษ์เทศ
ศาสตราจารย์ชิน อยู่ดี
คอริช เวลส์
ความน่าเชื่อถือ
แนวคิดนี้ยังไม่ได้ข้อยุติ
ยังพิสูจน์กันอยู่
หลักฐาน
หลักฐานทางโบราณคดี
กะโหลกศีรษะ
ใกล้เคียงกับของมนุษย์ไทยปัจจุบัน
ร่องรอยมนุษย์หินเก่า-โลหะ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ภาษาศาสตร์
แนวคิดที่4 จาก ตอนใต้ของจีน
ผู้เสนอแนวคิด
อี. เอช.ปาร์เกอร์
เจมส์ อาร์ แชมเบอร์เลน
จิตร ภูมิศักดิ์
อาร์ซิบอล อาร์ โคลฮูน
วิลเลียม เจ. เก็ตนีย์
เฟรเดอริค โมต
วูลแฟรม อีเบอร์ฮาด
ศาสตราจารย์ขจร สุขพานิช
หลักฐาน
ขนบธรรมเนียมประเพณี
หลักฐานการตั้งถิ่นฐาน
หลักฐานประเภทภาษาศาสตร์
ความน่าเชื่อถือ
เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
มีแนวคิดจากโบราณคดี
รัฐโบราณในดินแดนไทยและพื้นที่ใกล้เคียง
แคว้นพะเยา นายณัฐพงศ์ เลขที่ 2
แคว้นโยนกเชียงแสน น.ส.ชญานันทน์ พิสิฐสุขเจริญ เลขที่ 9
เจริญรุ่งเรืองสูงสุดในรัชกาลพญางำเมือง อุนนดา เลขที่24
เกิดจากการขยายตัวของราชวงศ์ลาว น.ส.ณัฐชา เลขที่38
เป็นดินแดนที่เรียกว่า "โยนก" มีประชากรเป็น ไทยวน น.ส.อลิสา เลขที่11
มีความสัมพันธ์อันดีกับอาณาจักรล้านนา และอาณาจักรสุโขทัย นาย วริทธิ์นันท์ เลขที่ 8
ตัวเมืองพะเยาตั้งอยู่บนลุ่มน้ำอิงที่ไหลลงสู่กว๊านพะเยา นายอชิระ สามสูงเนิน เลขที่ 20
แคว้นหริภุญชัย นครินทร์เลขที่ 14
วัดจามเทวี (วัดกู่กุด) นายนครินทร์ เลขที่ 14
วัดพระธาตุหริภุญชัย ณิชากร 5
ตั้งอยู่บริเวณภาคเหนือของประเทศไทย [บุริศทร์เลขที่40
อนุสาวรีย์พระนางจามเทวี ไปรยา 26
จีนสมัยราชวงษ์ถังเขียนในพ.ศ.1406 เรียกดินแดนหริภุญชัยว่า "หนี่หวัง" หมายถึงรัฐที่มีผู้หญิงเป็นกษัติ ไปรยา 26
ปัจจุบันตั้งอยู่ที่จังหวัดลำพูน
แคว้นละโว้ น.ส.วาณิศา เลขที่12
ตั้งอยู่ภาคกลาง ฝั่งตะวันออกของอยุธยา น.ส.ปราณิสา เลขที่36
ได้รับอิทธิพลศิลปกรรมมาจากทวารวดี ปราณิสา 36
ปราสาทหินพนมรุ้ง ไปรยา 26
พระปรางค์สามยอด คเณศวร์ เลขที่ 1
ชื่อภาษาจีน เรียกว่า หลอหู ณิชากร 5
ปราสาทหินพิมาย อุมากร 17
ตั้งอยู่บนฝั่งซ้ายของลุ่มน้ำเจ้าพระยา มัลลิกา 18
แคว้นตามพรลิงค์ นายภูมิภัทร เลขที่39
ตั้งอยู่บริเวณคาบสมุทรมลายู
พัชริดา เลขที่32
เมืองตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็น นครศรีธรรมราช
น.ส.วาณิศา เลขที่12
ถูกรวมเข้ากับอยุธยาตั้งแต่ พ.ศ. 1893
กฤตัชญ์ เลขที่10
เป็นอาณาจักรโบราณมีมาตั้งแต่ก่อนสมัยพุทธสตวรรษที่7
น.ส.ปิยนุช 42
ปกครองระบอบราชาธิปไตย ศาสนาพุทธเถรวาท น.ส.ปิยนุช 42
เจดีย์พระบรมธาตุ จ.นครศรีธรรมราช น.ส.ปิยนุช 42
มีการปกครองค้าขายกับจีน อินเดีย น.ส.ปิยนุช 42
อาณาจักรโยนกเชียงแสน นายวทัญญู เลขที่15
มีศูนย์กลางอยู่ที่เมืองเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นายวทัญญู เลขที่15
เจ้าชายสิงหนวัตุกุมารอพยพนำมาผู้คนลงมาและก่อตั้งเมืองที่นี่แล้วสถาปนาว่าเป็น "อาณาจักรโยนกเชียงแสน" นายวทัญญู เลขที่15
ปัจจุบันคือ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นายปุญญ์ เลขที่4
มีพัฒนาการที่เจริญรุ่งเรืองมาและได้ขยายอาณาเขตให้มีความกว้างขวางแต่ต่อมาผู้ที่ปกครองเมืองเดิมถูกขอมเข้ายึดครองและขับไล่ออกไป นายวทัญญู เลขที่15
มรดกทางวัฒนธรรม คือ ตำนานสิงหนวัติ นายวทัญญู เลขที่15
ต่อมาเมืองโยนกเชียงแสน (เมืองชัยบุรี) เกิดน้ำท่วม บรรดาเมืองในแคว้นโยนกเชียงแสนต่างๆ ก็ถูกทำลายลงหมดชนชาติไทยในโยนกเชียงแสนจึงได้พากันอพยพลงมาทางตอนใต้ แล้วได้สร้างอาณาจักรใหม่ขึ้นคือ อาณาจักรล้านนา ซึ่งต่อมาได้เจริญเติบโตขึ้นเป็นอาณาจักร นายวทัญญู เลขที่15
อาณาจักรศรีวิชัย น.ส.พิศณีย์ เลขที่27
มีศูนย์กลางอยู่บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีของประเทศไทยในปัจจุบัน พิศณีย์ เลขที่27
พื้นที่อาณาจักรแบ่งได้ 3 ส่วน คือส่วนคาบสมุทรมลายู เกาะสุมาตรา และเกาะชวา พัชริดา เลขที่32
มีอาณาเขตครอบคลุมมลายู เกาะชวา เกาะสุมาตรา ช่องแคบมะละกา ช่องแคบซุนดา
ก่อตั้งโดยราชวงศ์ไศเลนทร์ ในช่วงที่อาณาจักรฟูนันเริ่มล่มสลาย ปัณณวิชญ์ 30
เจดีย์ทรงกลม สร้างขึ้นเมื่อพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์เช่น พระบรมธาตุเจดีย์วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดนครศรีธรรมราช คเณศวร์ เลขที่ 1
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของอินโดนีเซีย สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย น.ส.ปิยนุช 42
ปกครองในลักษณะสหพันธรัฐ
มีการพบศิลาจารึกภาษามาเลย์เกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัยนี้ที่วัดเสมาเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช ส่วน เมืองครหิ ในสมัยศรีวิชัยนั้นเป็นเมืองท่าค้าพริก ดีปลีและพริกไทยเม็ด โดยมีต้นหมากต้นมะพร้าวอยู่มาก
แต่ก็ยังมีความเชื่ออยู่ว่าเมืองครหินั้นไม่น่าจะใช่เมืองไชยา
3.เจนละ / อิศานปุระ(อิทธิพล เลขที่44)
ปกครองระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ ศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ น.ส.ปิยนุช 42
อาณาจักรเจนละดั้งเดิมและเจนละน้ำซึ่งพัฒนาขึ้นหลังจากที่ถูกอาณาจักรฟูนันยึดครองและผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรฟูนันซึ่งปัจจุบันนี้กลายเป็นพื้นที่สามเหลี่ยมปากแม่น้ำแม่โขง วายุ เลขที่35
มีการสร้างศิลาจารึกไว้หลายหลักซึ่งมีอายุเก่าแก่ที่สุดในภูมิภาค น.ส.ปิยนุช 42
ตั้งอยู่ในภาคอีสานเป็นส่วนมาก และภาคกลางในประเทศไทย โดยศูนย์กลางอยู่ที่เมืองพระนคร “ในภาษาเขมรปัจจุบันเรียกว่า อังกอร์”ในปัจจุบัน นาย อิทธิพล เลขที่44
อาณาจักรทวารวดี(จินต์จุฑา เลขที่33)
ศูนย์กลางอยู่ที่ 3 เมือง ได้แก่ เมืองนครปฐมโบราณ (นครชัยศรี) เมืองอู่ทอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี และเมืองลพบุรี
น.ส.จินต์จุฑา เลขที่33
ตั้งอยู่บริเวณภาคกลาง คาดว่าอยู่จังหวัด นครปฐม ในปัจจุบัน ธัญพิชา เลขที่ 34
วัดพระประโทณเจดีย์ อุมากร 17
เหรียญโบราณ น.ส.ณัฐชา เลขที่38
ธรรมจักรกับกวางหมอบ น.ส.ณัฐชา เลขที่38
อาณาจักรโคตรบูรณ์ น.ส.ญาดา เลขที่25
ก่อตั้งขึ้นตรงดินแดน 2 ฝั่งแม่นำ้โขง ได้แก่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของอาณาจักรสยาม ภาคตะวันตกกับภาคเหนือของสาธารณรัฐประชาธิปไตย น.ส.ญาดา เลขที่25
มีความสัมพันธ์อย่างแนบแน่นกับนครเวียงจันทน์ยุคจันทะปุระ จันทนิภา เลขที่28
อาณาจักรโคตรบูรแผ่อิทธิพลทางการเมืองและศิลปกรรมครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมดของภาคอีสาน จันทนิภา 28
มีหลักฐานทางโบราณคดีประเภทหินปรากฏอยู่ที่เวียงจันทร์-นครพนม น.ส.ปิยนุช 42
แคว้นหิรัญนครเงินยาง นายศุภกร เลขที่29
พระนามกษัตริย์ขึ้นต้นด้วยคำว่า ลาว นายศุภกร เลขที่29
พื้นที่อยู่ใกล้บริเวณเชียงแสน นายศุภกร เลขที่29
เมื่อพญามังรายขึ้นครองราชเป็นกษัตริย์พระองค์ได้สร้างเมืองเชียงรายและประทับที่นั่น เป็นราชธานีแห่งใหม่ ถือเป็นการสิ้นสุดราชวงศ์ลาว แห่งหิรัญนครเงินยางเชียงลาว เริ่มต้น ราชวงศ์มังราย แห่งอาณาจักรล้านนา วายุ เลขที่35
นับถือศาสนาพุทธเถรวาท นายดลมรรค สมพงษ์ เลขที่16
ปกครองแบบราชาธิปไตย นาย ดลมรรค สมพงษ์ เลขที่ 16
เริ่มหลังจากการล่มสลายของโยนกนครไชยบุรีราชธานีศรีช้างแส่น 13น.ส.ฑิฆัมพร
แคว้นสุพรรณภูมิ ปัณณวิชญ์ 30
ที่ตั้งอยู๋ที่เมืองสุพรรณภูมิ ริมแม่น้ำสุพรรณภูมิ
ปัณณวิชญ์ 30
คือกลุ่มบ้านเมืองในลุ่มแม่น้ำสุพรรณบุรี นายปุญญ์ เลขที่4
เมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวง ธัญพิชา เลขที่ 34
เป็นต้นกำเนิดของพระเจ้าอู่ทอง ธัญพิชา เลขที่ 34
อาณาจักรขอมเสื่อมอำนาจลง สุพรรณภูมิก็แยกเป็นรัฐอิสระ กฤตัชญ์ เลขที่10
ด้านเศรษฐกิจ แคว้นสุพรรณภูมิเป็นเมืองท่าติดต่อกับแคว้นทางใต้และต่างประเทศ จึงมีการค้าขาย นายวุฒิวัฒน์ 23
ศาสนา ได้รับอิทธิพลมาจากแคว้นนครชัยศรี คือพุทธนิกายเถรวาท นายวุฒิวัฒน์ 23
มีเมืองใหญ่ๆ 2 เมืองคือ เมืองอโยธยาแคว้นละโว้ และเมืองอู่ทองแคว้นสุพรรณภูมิ นางสาวสกุลตรา กุลทวง เลขที่3
แคว้นสุพรรณภูมิ เป็นแคว้นของชนชาติไทยในอดีต มีมาก่อนสถาปนากรุงศรีอยุธยา โดยมีเมืองอู่ทองเป็นเมืองหลวง นางสาวสกุลตรา กุลทวง เลขที่3
อาณาจักรลังกาสุกะ
น.ส.ชญานันทน์ พิสิฐสุขเจริญ เลขที่ 9
มีอาณาเขตควบคุมพื้นที่ในจังหวัดปัตตานีและจังหวัดยะลา
น.ส.เพชรชลัดดา รัชตามพร เลขที่21
เป็นเมืองท่าสำคัญที่มีการติดต่อกับต่างชาติ
น.ส.เพชรชลัดดา รัชตามพร เลขที่21
เป็นศูนย์กลางสำคัญของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน น.ส.ชญานันทน์ พิสิฐสุขเจริญ เลขที่9
เคยอยู่ในการควบคุมของอาณาจักรฟูนัน
น.ส.ปิยนุช 42
ลังกาสุกะปรากฏในอีกชื่อหนึ่งว่า “ละครสุกะ” คำว่าละครหมายถึงนคร "ละครสุกะ" แปลว่า นครแห่งความสุข
ณฐวัฒน์ เลขที่22
อาณาจักรโบราณที่เชื่อว่ามีพื้นที่คลุมไปถึงตอนเหนือมาเลเซีย เพราะพบสิ่ง ก่อสร้างโบราณ แบบเดียวกับที่พบในปัตตานีแถวริมฝั่งแม่น้ำบูจังและปาดังลาวาส
นายอชิระ สามสูงเนิน เลขที่ 20
อาณาจักรฟูนัน น.ส.กฤติมา เลขที่ 37
เชื่อว่าบรรพบุรุษอพยพมาจากประเทศอินเดียถิ่นฐานอยู่บริเวณปากนําโขงในกัมพูชา แผ่ขยายมาถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยและภาคใต้ของลาว ไม่ปรากฏศูนย์กลางอย่างแน่ชัด น.ส.เกษมณี เลขที่ 43
หลักฐานที่เป็นวัฒนธรรมของอาณาจักรฟูนันที่ขุดค้นพบ ในประเทศไทยได้แก่ เครื่องประดับ พระพุทธรูป แม่พิมพ์ ตราประทับ เหรียญกษาปณ์ น.ส.สุธาสินี เลขที่ 41
มีการควบคุมช่องแคบเดินเรือที่เชื่อมฝั่งทะเลอ่าวไทยกับอันดามันและเมืองท่าต่างๆทางตอนใต้ของจีน ทำให้เห็นถึงความมั่นคงและอิทธิพลทางการเมือง น.ส.ปิยนุช 42
ตั้งขึ้นโดยพราหมณ์โกณธัญญะ น.ส.ปิยนุช 42
อยู่บริเวรลุ่มแม่นำ้โขงตอนล่าง ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ประเทศกัมพูชา เวียดนามตอนล่าง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคใต้ของไทย ลงมาถึงแหลมมลายู น.ส.ปิยนุช 42
ชื่อรัฐ
อยู่ที่ไหน (ชื่อ เลขที่)
มีความเป็นมาอย่างไร
ล่มสลายหรือเปลี่ยนไปเป็น...
มรดกทางวัฒนธรรมปรากฏที่เป็นสัญลักษณ์ของรัฐนี้
การเมืองปกครองเป็นแบบไหน
สภาพเศรษฐกิจ
สภาพสังคม
: