Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร - Coggle Diagram
การกำหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ความหมายและระดับของจุดมุ่งหมา
จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับหลักสูตร “จุดมุ่งหมาย” (Aims)
จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับกลุ่มวิชา
“จุดประสงค์ทั่วไป” (Subject area objectives)
จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับการศึกษา “ความมุ่งหมาย” (Purposes)
จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับรายวิชา “จุดประสงค์ (รายวิชา)” (Course objectives)
จุดมุ่งหมายของการศึกษาระดับชาติ ใช้คําว่า “เป้าหมาย” (Goal)
จุดมุ่งหมายของการศึกษาในระดับการเรียนการสอน
“จุดประสงค์การเรียนรู้”(Instructional objectives)หรือ
“จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม”(Behavioralobjectives)
ความสําคัญของจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ความสําคัญสําหรับครู
จัดเตรียมเนื้อหาและวิธีการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามที่จุดมุ่งหมายกําหนดไว้
ความสําคัญสําหรับผู้บริหาร
การบริหารหลักสูตรเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามจุดมุ่งหมายที่กําหนดไว้
ความสําคัญต่อผู้เรียน
เนื่องจากจุดมุ่งหมายจะเป็นทิศทางในการเตรียมตัวผู้เรียนก่อนเรียน
ลักษณะของจุดหมายของหลักสูตรที่ดี
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีต้องมุ่งสร้างเสริมค่านิยม ขนบธรรมเนียม ค่านิยมประเพณีและวัฒนธรรม
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีจะต้องเน้นและส่งเสริมคุณสมบัติส่วนบุคคลของผู้เรียน
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของเด็ก
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีจะต้องช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์จากการศึกษาให้มากที่สุด
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีสอดคล้องกับความต้องการของสังคม
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีจะต้องมีความชัดเจน ไม่คลุมเครือ และมีความต่อเนื่องกัน
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีควรตั้งอยู่บนรากฐานของการศึกษาอย่างถูกต้อง
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีควรจะยืดหยุ่นได้
โครงสร้างของจุดมุ่งหมาย
ส่วนที่เป็นเนื้อหา
เป็นส่วนที่จะตอบคําถาม “อะไร” ซึ่งได้แก่ เรื่องราวที่จะนํามาสอน หรือให้เกิดการเรียนรู้ในตัวผู้เรียน
ส่วนที่เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้
เป็นส่วนที่จะตอบคําถาม “จะให้เกิดการเรียนรู้ได้อย่างไร” ซึ่งได้แก่ ประเภทพฤติกรรมการเรียนรู้ใน 3 ด้านคือ พุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังบ่งบอกถึงรายละเอียดในแต่ละด้านจะให้เกิดการเรียนรู้ระดับใด แค่ไหน
หลักการกําหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ต้องสอดคล้องกับปรัชญาหรืออุดมการณ์ของสังคม
ต้องสอดคล้องและส่งเสริมค่านิยมของสังคม
ต้องมุ่งสนองความต้องการและแก้ปัญหาของสังคม
ต้องสนองความต้องการของผู้เรียน
ต้องสอดคล้องและส่งเสริมจุดมุ่งหมายของหลักสูตรระดับอื่น
ต้องสามารถนําไปปฏิบัติได้
ต้องให้มีความสมดุลระหว่าง
ความต้องการของผู้เรียนและสังคม
ต้องให้มีความสมดุลระหว่างความรู้และทักษะ หรือระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติ
ต้องมีความสําคัญหรือมีคุณค่าต่อผู้เรียน
ต้องมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
ต้องตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
ต้องมีการพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านสติปัญญา ทักษะ และเจตคติ
ต้องใช้ภาษาที่ชัดเจน
กระบวนการและวิธีการกําหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
วิธีประชุมพิจารณา
จุดมุ่งหมายที่มีอยู่แล้ว
นําจุดมุ่งหมายเดิมของหลักสูตรในประเทศหรือของต่างประเทศมาวิเคราะห์ที่ละข้อ หากนํามาใช้กับหลักสูตรที่กําลัง พัฒนาขึ้นมาใหม่จะได้หรือไม่ ควรแก้ไขปรับปรุงอย่างไรจึงจะเหมาะสม จุดมุ่งหมายที่มีอยู่เดิมครอบคลุมสิ่งที่คาดหวัง ไว้หรือไม่ควรกําหนดอะไรเพิ่มเติมอีกจึงจะสมบูรณ์
วิธีประชุมให้ความคิดเห็นต่อคําถามโดยตรง
ต่อหลักสูตรว่าควรมีจุดมุ่งหมายว่าอย่างไร แล้วนําข้อคิดเห็นต่อหลักสูตรว่าควรมีจุดมุ่งหมายว่าอย่างไร แล้วนําข้อคิดเห็น
วิธีศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการทางสังคมและของผู้เรียนทุกด้านการศึกษา
ควรทํากับหลักสูตรทุกระดับ แล้วสรุปออกมาว่าสภาพปัญหาเหล่านั้นมีความหมายต่อการศึกษาอย่างไร ควรกําหนด จุดมุ่งหมายของหลักสูตรนั้นอย่างไรการสรุปอาจมีทั้งข้อคิดเห็นที่ตรงกัน และขัดแย้งกันได้ ให้นํามาวิเคราะห์เพื่อหาข้อ ยุติจากนั้นนํามารวบรวมมาจัดทําเป็นจุดมุ่งหมายของหลักสูตรต่อไป
วิธีประชุมอภิปรายในแง่ของหลักวิชา
ธรรมชาติและความต้องการส่วนบุคคล สภาพการเปลี่ยน
แปลงและความต้องการของสังคม ปรัชญา ความคิด และอุดมการณ์ของชาติ นโยบายของรัฐบาล เป็นต้น
การกําหนดจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
ส่วนที่เป็นเนื้อหา
ต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐานด้านต่างๆ ในการกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้จุดมุ่งหมายของหลักสูตรที่ดีตลอดจนความสมดุลระหว่างความรู้กับทักษะ หรือระหว่างทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
ส่วนที่เป็นพฤติกรรมการเรียนรู้
สะท้อนให้เห็นความสามารถของผู้เรียนในด้านใดด้านหนึ่งของทั้ง 3 ด้าน ด้านพุทธิพิสัย ด้านจิตพิสัย และด้านทักษะพิสัย และในแต่ละด้านจะให้ ผู้เรียนรู้ลึกซึ้งลงไประดับใด
ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor domain)
พฤติกรรมทางด้านภาษา
การสื่อสารโดยท่าทาง
การเคลื่อนไหวที่ต้องใช้
ประสาทรวมๆกัน
ทักษะในการเคลื่อนไหว
ทางร่างกาย
ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive domain)
การประเมินค่า
การสังเคราะห์
การวิเคราะห์
การนำไปใช้
ความเข้าใจ
ความรู้ความจำ
ด้านจิตพิสัย (Affective domin)
การสร้างบุคลิกลักษณะ
การจัดระบบ
การสร้างค่านิยม
การตอบสนอง
การรับรู้