Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการดูแลแบบองค์รวม - Coggle Diagram
หลักการดูแลแบบองค์รวม
การดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคล
สุขวิทยาส่วนบุคคล หมายถึง การที่บุคคลมีร่างกายสะอาด แต่งกายเรียบร้อยและสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายได้ด้วยตนเองตลอดจนสภาพแวดล้อมให้สะอาดปราศจากสิ่งที่ก่อให้เกิดโทษต่อร่างกาย
1.1 การดูแลความสะอาดผิวหนัง (Skin care) มีวัตถุประสงค์เพื่อขจัดยิ่งหมักหมมและเหงื่อไคล ทำให้ผิวหนังสะอาด ส่งเสริมการไหลเวียนของโลหิต มีการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและทำให้ผู้รับบริการรู้สึกสบาย
1.2 Mouth care การดูแลความสะอาดในช่องปากและฟันจะช่วยให้บุคคลมีสุขภาพในช่องปากที่ดี โดยปกติบุคคลควรได้
รับการตรวจฟันจากทันตแพทย์ทุก 3-6 เดือน ผู้ที่มีสุขภาพในช่องปากดี จะทำให้ระบบย่อยอาหารทำงานได้ดี
1.3 Bed shampoo การสระผมก็เช่นเดียวกับการอาบน้ำ นอกจากทำให้สะอาดแล้ว ยังเกิดความสุขสบายและกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตนหนังศีรษะให้ดีขึ้น ผู้ป่วยที่ต้องนอนอยู่บนที่นอนตลอดเวลาควรได้รับการสระผมอย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
1.4 การดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ หมายถึง การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ให้สะอาดรวมทั้งฝีเย็บ(ในผู้ป่วยเพศหญิง) 1. เพื่อกำจัดกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ และกำจัดสิ่งที่ขับออกมา
- ป้องกันและลดการติดเชื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
- ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสุขสบาย
-
การผูกยึด
การผูกยืด หมายถึง การจำกัดการเคลื่อนไหวทุกส่วนของร่างกาย หรือเพียงบางส่วนของผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือ ในการรักษา โดยใช้อุปกรณ์สำหรับใช้ผูกยึดผู้ป่วยเพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่อตัวผู้ป่วย ทีมการรักษา หรือ ต่อบุคคลอื่นๆ
ข้อบ่งชี้
เพื่อใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะสับสน เพ้อ วุ่นวายมาก เอะอะ ต่อสู้ ทำร้าย เพื่อที่จะสามารถทำการวินิจฉัยและการรักษาได้ และเพื่อเป็นการป้องกัน อันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นแก่ตัวผู้ป่วยและคนรอบข้าง
ข้อห้าม
ห้ามผูกยึดในแขนขาที่มีแผลเปิด กระดูกหัก หรือมีการติดเชื้อระวังการเกิด ischemia ในผู้ป่วยที่มี peripheral vascular
disease หรือมีประวัติ arterial injury หรือ surgery
การทำเตียงและสิ่งแวดล้อม
การทำเตียงและสิ่งแวดล้อม หมายถึง การดูแลสิ่งที่อยู่รอบๆตัวผู้ป่วย ให้ที่สะอาดและได้รับการดูแลทุกวันรวมทั้งการมีการระบายอากาศที่เหมาะสม การจัดวางสิ่งของเป็นระเบียบย่อมสบายตา ไม่เป็นที่สะสมของเชื้อโรค
- เตียงที่ยังมีผู้ป่วยครองเตียงอยู่ แต่ผู้ป่วยไม่ได้นอนอยู่ที่เตียง (open bed) เช่น นั่งข้างๆเตียงไปห้องน้ำ ซึ่งเมื่อทำเตียงเสร็จจะไม่ต้องคลุมผ้าเพื่อให้ผู้ป่วยเข้านอนได้อย่างสะดวกสบาย
- เตียงที่มีผู้ป่วยอยู่บนเตียง(occupied bed)ผู้ป่วยไม่สามารถสามารถลุกออกจากเตียงได้ในขณะทีทำเตียง การทำเตียง
-
- เตียงสำหรับรอรับผู้ป่วยที่ดมยาสลบ(ether bed)การทำเตียงแบบนี้มีหลักในการปฏิบัติเช่นเดียวกับการทำเตียงแบบไม่มีผู้รับบริการนอนอยู่บนเตียง แต่ต้องเตรียมสิ่งของเครื่องใช้เพิ่มเติม เช่น ผ้าเช็ดตัวผ้ายาง ผ้าขวางเตียง อุปกรณ์วัดสัญญาณชีพ เป็นต้น
- เตียงว่าง (closed bed or anesthetic bed) เป็นเตียงที่ไม่มีผู้ป่วยครองเตียงเป็นการทำเตียงภายหลังจากการที่ผู้ป่วยกลับบ้าคลุมด้วยผ้าคลุมเตียง เพื่อรักษาที่นอนและหมอนให้สะอาดการประเมินสภาพผู้ป่วยก่อนทำเตียง
การนวดหลัง
การนวดหลังจะกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตบริเวณผิวหนัง เป็นสื่อความห่วงใย เอาใจใส่และความปรารถนาดีของพยาบาลต่อผู้รับบริการ
-
ไม่นวดบริเวณที่มีการอักสบ มีแผล กระดูกซี่โครงหัก ผู้ป่วยโรคหัวใจ มีไข้ โรคผิวหนังหรือมีการบาดเจ็บของกระดูกสันหลัง
-
-
-