Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (Planning) - Coggle Diagram
การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (Planning)
ระยะก่อนวางแผน (Pre-Planning)
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
ภาวะด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน
ขนาดปัญหา
การพิจารณาจำนวนปัญหาหรือโรคที่เกิดในชุมชนว่าโรคนั้น ๆ เมื่อเกิดขึ้นมาแล้ว
พิจารณาในรูปของอัตราความชุกของโรค ( Prevalence Rate )
เปรียบเทียบกับน้ำหนักคะแนนซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0-4
มากกว่าร้อยละ 51-75=3
มากกว่าร้อยละ 76-100=4
มากกว่าร้อยละ 26-50=2
มากกว่าร้อยละ 0-25=1
ไม่มีเลย=0
ความรุนแรงของปัญหา
พิจารณาความรุนแรงตามลักษณะของโรค ผลกระทบของโรค หรือภาวะเสี่ยง
ดูจากอัตราตาย หรือความทุพพลภาพจากโรค
ร้อยละหรืออัตราของประชากรที่ได้รับผลจากปัญหา
น้อยมาก 0-25% =1
น้อย 26-50%=2
ไม่มีเลย=0
มาก 51-75%=3
มากที่สุด 76-100% = 4
ความรุนแรงของปัญหา
รุนแรงปานกลาง=2
รุนแรงมาก=3
รุนแรงน้อย=1
รุนแรงมากที่สุด =4
ไม่รุนแรง=0
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านระยะเวลา มีเวลาเพียงพอที่จะแก้ไขปัญหานั้นๆๆหรือไม่
ด้านกฎหมาย ดูวิธีการแก้ปัญหาว่าขัดกับกฎหมายหรือไม่
ด้านทรัพยากร ดูแลบุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และวิธีดำเนินการ รวมทั้งงนโยบายสนับสนุนของผู้บริหาร
ด้านศีลธรรม ดูว่าการแก้ปัญหาขัดกับศัลธรรม จรรยา ขนบธรรมเนียม ประเพณีหรือไม่
ด้านวิชาการ มีความรู้ด้านวิชาการในการน ามาใช้แก้ปัญหาได้หรือไม่ เพียงใด
ให้ระดับคะแนน 4 คะแนน
ยากมาก = 1
ยาก = 2
ทำไม่ได้ = 0
ง่าย = 3
ง่ายมาก = 4
การตระหนักในปัญหาของชุมชน
ชุมชนเห็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนนั้นมีความสำคัญหรือมีความวิตก
ห่วงใย หรือต้องการให้แก้ไขรีบด่วนหรือไม่
การสังเกต การสัมภาษณ์ หรือจากการพูดคุยอย่างไม่เป็นทางการกับผู้นำชุมชน ตัวแทนประชาชน การสอบถามการรับรู้ต่อปัญหาของชุมชน
ร้อยละหรืออัตราของประชากรที่ได้รับผลจากปัญหา
26-50 (ต้องการแก้ไขปัญหาระดับปานกลาง) = 2
51-75 (ต้องการแก้ไขปัญหาระดับมาก) = 3
มากกว่า 0-25 (ต้องการแก้ไขปัญหาระดับน้อย) = 1
76-100 (ต้องการแก้ไขปัญหาระดับมากที่สุด) = 4
0 (ไม่ต้องการแก้ไขปัญหา) = 0
การศึกษาสาเหตุของปัญหา
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับปัญหาในลักษณะของปัญหาทางด้านสุขภาพ และควรเป็นข้อมูลทางด้านความรู้ เจตคติ และการปฏิบัติตัว
การวิเคราะห์ข้อมูล
Web of causation
ปัญหานั้น ๆ น่าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้าง โดยต้องหาสาเหตุที่ใกล้ที่สุดก่อนเรียกว่า สาเหตุทางตรง (Direct causal)
ใช้หลักของเหตุผล หรือหลักทางวิชาการ (Basic on Reason
ใช้ประสบการณ์ (Based on Experience)
สาเหตุทางตรง กำลังจะเป็นผลที่เกิดขึ้นของสาเหตุที่จะหาต่อไป
เริ่มต้นจากปัญหาที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ในขณะนั้น ๆ
PRECEDE Framework
ระยะวางแผน
ประเภทของแผน
ประเภทของแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทำเป็นหลัก
ประเภทของแผนแบ่งตามพื้นที
ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
ประเภทของแผนแบ่งตามลายลักษณ์อักษร
การจัดทำแผนแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน
แผนงาน
กลุ่มโครงการตั้งแต่2 โครงการขึ้นไป
เป้าประสงค์
ต้องการแก้ปัญหาอะไรจาก
ปริมาณที่ปรากฏอยู่จนถึงปริมาณที่ต้องการ
วัตถุประสงค์
นำนโยบายมาพิจารณาประกอบการเขียน โดยวัตถุประสงค์นั้นจะต้อง
สอดคล้องกับระยะเวลาในการดำเนินงานแก้ไขปัญหา
วิเคราะห์ปัญหา
ได้มาจากขั ้นตอนการประเมินภาวะสุขภาพของชุมชนและจาก
การศึกษาสาเหตุของปัญหา
วิธีการทางสาธารณสุขในการแก้ปัญหา
ปัญหา เป็นการระบุปัญหาอนามัยชุมชน
ภาวะสุขภาพชุมชน
สิ่งที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพชุมชน
หัวเรื่อง เป็นการบอกความเป็นมาของแผนงาน
ประเมินผล