Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เวชกรรมสมุนไพร, นางสาวอมรทิพย์ มีสีผ่อง 63111301108 - Coggle Diagram
เวชกรรมสมุนไพร
ตำรับยาลมเนาวนารีวาโย
-
-
ลมเนาวนารีวาโยเป็นลมที่ทำให้มีอาการเจ็บแปล๊บที่ปลายมือปลายเท้าคล้ายปลาดุกยอกต้นคอแข็งเกร็งหันคอไม่ได้
ตำรับยาแก้โรคจิต
ขนาดและวิธีใช้
รับประทานครั้งแรกครั้งละ 0.468 กรัมวันละ 2 ครั้งก่อนอาหารเช้าและเย็นถ้านอนไม่หลับรับประทานครั้งละ 2 กรัมวันละ 2 ครั้งก่อนอาหารเช้าและเย็น
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ยาตำรับที่มีระย่อมเป็นส่วนประกอบเนื่องจากสารสำคัญซึ่งมีฤทธิ์ในการลดความดันคือสารreserpineและอัลคาลอยด์อื่นๆ
ยาแก้โรคจิตตำรับนี้เป็นตำรับยาตามหนังสืออายุรเวทศึกษาเล่ม 2 ไม่ได้หมายถึงโรคจิตในความหมายของการแพทย์แผนปัจจุบัน
-
ตำรับยาแก้ลมแก้เส้น
ลมในเส้นเป็นลมที่พัดประจำอยู่ตามเส้นต่างๆในร่างกายเช่นผมจันทกระลาอยู่ในเส้นอิทา ลมสูญทกลา พัดอยู่ในเส้นปิงคลา เมื่อลมเหล่านี้ผิดปกติจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดหรือชาตามแนวเส้นที่ลมนั้นพัดประจำหรือบริเวณใกล้เคียง
-
-
-
-
-
ตำรับยาไฟอาวุธ
-
-
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อนเนื่องจากเป็นตำรับยารสร้อน
ตำรับยาทัพยาธิคุณ
-
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ร่วมกับยา phenytoin,propanorol,theophyline,rifampicin เนื่องจากตำรับนี้มีพริกไทยในปริมาณสูง
-
แก้กล่อน 5 ประการที่ทำให้จุกเสียด เป็นพรรดึกเป็นก้อนในท้องเจ็บเมื่อยตามขบตามร่างกาย ปากเปรี้ยว กินอาหารไม่รู้รส นอนไม่หลับ
-
ตำรับยาทําลายพระสุเมรุ
-
ข้อควรระวัง
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อนเนื่องจากเป็นตำรับยารสร้อน
แก้ลมจุกเสียดลมปะทะอก ลมตามืดหูหนัก ปวดหัวมึนตึง ลมเมื่อยขบในร่างกาย ลมสะดุ้งและสั่นไปทั้งตัวลมเปลี่ยวดำ ลมอัมพฤกษ์อัมพาต ลมปัตฆาต
ตำรับยาน้ำมันสนั่นไตรภพ
ขนาดและวิธีใช้
ใช้น้ำมันทาหน้าท้องนวดคลึงบริเวณรอบสะดือถึงชายโครงทิศตามเข็มนาฬิกา 3 วันก่อน แล้วจึงรับประทานยาน้ำมันรับประทานครั้งละ 1 ช้อนชาวันละ 1 ครั้งก่อนอาหารเช้าเป็นเวลา 3 วัน
ข้อควรระวัง
-
ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไตเนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
-
-
ตำรับยาอัคคินีวคณะ
-
ขนาดและวิธีใช้
ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ผู้ป่วยโรคแผลเปื่อยเพปติก ผู้ป่วยโรคกระเพาะอาหารและกรดไหลย้อนเนื่องจากเป็นตำรับยารสร้อน
-
-
-