Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของตารางธาตุ, กลุ่มที่3 - Coggle Diagram
วิวัฒนาการของตารางธาตุ
2.จอห์น นิวเเลนด์
(John Alexaaander Reina Newlands)
แนวคิดนี้อธิบายได้ดีสำหรับธาตุ20ธาตุเเรกเท่านั้น
เรียงธาตุตามเเนวนอน 5คาบ เเต่ละคาบบรรจุ 7ธาตุ โดยธาตุที่ 8 จะมีสมบัติคล้ายกับ
ธาตุที่1 จึงจัดธาตุที่8 ไว้เป็นธาตุที่ 1 ของคาบถัด(ทั้งนี้ไม่รวม H กับแก๊สมีสกุล)
การจัดธาตุเป็นช่วงๆ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากตามแนวนอนไป
ธาตุที่มีมวลอะตอมมากขึ้นไปจะไม่ค่อยเป็นไปตามกฎแห่งแปด เเละการจัดเช่นนี้ไม่สามารถอธิบายได้จึงทำให้ไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาต่อ
ดิมิทรี อิวาโนวิช เมเดเลเอฟ
(Dimitri Mendeleev)
บิดาแห่งตารางธาตุ
เรียงธาตุที่ค้นพบในสมัย
นั้น 63 ธาตุตามมวลอะตอมเป็น 8 หมู่
ตารางธาตุยุคแรกเรียกว่า
"ตารางพีริออดิกของเมนเดเลเอฟ"
"ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก จะพบว่าธาตุจะมีสมบัติคล้ายกัน
เสนอกฎพีริออดิก (Periodic Law)
4.เฮนรี่ โมสลีย์
(Henly Mosley)
อาศัยความรู้ด้านX-ray เพื่อหาเลขอะตอมของธาตุ
เสนอให้เรียงตารางธาตุจากเลขอะตอมจากน้อยไปมาก
เพราะสมบัติของธาตุ สัมพันธ์กับเลขอะตอม
ตารางธาตุปัจจุบัน
เรียงเลขอะตอมจากมากไปน้อยโดยเรียงจากซ้ายไปขวา
แนว
ตั้ง
เรียก หมู่
แนว
นอน
เรียก คาบ
มี 18 หมู่ 7คาบ
แบ่งได้เป็นหมู่ A และB
ธาตุบางหมู่ มีชื่อเรียกเฉพาะ เช่น H คือโลหะแอลคาไลน์
หรือ Og คือแก๊สมีสกุล
ธาตุในกรอบสี่เหลี่ยมจะแสดง
1.สัญลักษณ์ธาตุ 2.เลขมวล
3.เลขอะตอม 4.สมบัติความเป็นโลหะ
การแสดงเลขหมู่มี2ระบบ
กำหนดด้วยเลขโรมัน กำกับด้วยA B
กำหนดโดยIUPAC โดนให้กำหนดด้วยเลขอาราบิก ตั้งแต่ หมู่1-18
1.โยฮันน์ เดอร์เบอร์ไรเจอร์
(Johann wolfgang dobereiner)
กฎแห่งสามไม่เป็นที่ยอมรับ เนื่องจากมีบางกลุ่มที่มวลอะตอมของธาตุตรงกลางไม่เท่ากับค่าเฉลี่ยของอีกสองธาตุ
กฎชุดสาม กฎชุดสามยังมีข้อจำกัดโดยจะใช้ได้กับ
ธาตุเพียงบางกลุ่มเท่านั้น
พบว่าธาตุกลางจะมีมวลอะตอมเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของอีกสองธาตุ
สังเกตคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของธาตุและจัดกลุ่มธาตุ
จัดกลุ่มธาตุเป็นชุดละ 3 ชนิด
โดยเรียงจากน้อยไปมาก
กลุ่มที่3