Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดและกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน
ระดับตำบลและหมู่บ้าน
ดูแลสุขภาพที่จำเป็นซึ่งจัดให้อย่างทุกคนและทุก
ครอบครัว โดยการยอมรับและการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ของทุกคนด้วยค่าใช้จ่ายที่ไม่เกินกำลังชุมชน
สาธารณสุขมูลฐาน
พัฒนาชุมชนใหม่ความสามารถในการที่จะแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
เบื้องต้นได้ด้วยตนเอง
สาธารณสุขมูลฐาน/จปฐ.
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรครักษาพยาบาล และฟื้นฟูสภาพ
เป็นผู้กระตุ้นให้คำแนะนำ (Supervisor)
ผู้สนับสนุน (Supporter)
สาธารณสุขมูลฐาน คือ
ประชาชนบริการประชาชน จึงเกิดอสม
กลวิธีในการดำเนินการสาธารณสุขมูลฐาน
การมีส่วนร่วมของชุมชน
ประชาชนในหมู่บ้านรู้สึกเป็นเจ้าของและเข้ามาร่วมบริหารงานสาธารณสุข
ประชาชนในชุมชนเป็นผู้ตระหนักถึงปัญหาของชุมชนของตนเป็นอย่างดี
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม
เทคนิคและวิธีการใช้งานง่าย ไม่ซับซ้อนยุ่งยาก เหมาะกับแต่ละสภาพท้องถิ่น และประชาชนสามารถปฏิบัติได้
อาจเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่เดิมในชุมชน
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)
แก้ข่าวร้าย กระจายข่าวดี ชี้บริการ ประสานงานสาธารณสุข
ให้การช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้นแก่ประชาชน
ติดตามการรักษาและจ่ายยาให้แก่ผู้ป่วยที่ได้รับการส่งต่อมาจากสถานบริการสาธารณสุข
ประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุขกับประชาชน
ทำตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน
แจ้งข่าวสารสาธารณสุข และแนะนำ เผยแพร่ความรู้ แก่ประชาชนในเขตรับผิดชอบ
ปฏิบัติการสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบได้ครอบคลุม
ป้องกันโรค
การส่งเสริมสุขภาพ
การรักษา
พยาบาลเบื้องต้น
ฟื้นฟูสภาพ
บทบาท
ดำเนินงานพัฒนาสุขภาพอนามัย และคุณภาพชีวิตของประชาชนใน
หมู่บ้าน/ชุมชน
ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change agents) พฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน
ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
ความจำเป็นพื้นฐานเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำไว้ว่าคนควรจะมีคุณภาพชีวิตในแต่ละเรื่อง
เป็นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของ สังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของเครื่องชี้วัดว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็นอยู่ ไม่ต่ำกว่าระดับไหน
แบบสำรวจข้อมูล จปฐ. แบ่งเป็น 2 แบบ
แบบสำรวจข้อมูลหมู่บ้านเรียกว่า จปฐ.2
รวบรวมข้อมูลจากแบบ จปฐ.1 ของ ทุกหลังคาเรือนสรุปลงในแบบ จปฐ.2 แล้วคิดคำนวณเป็นค่าร้อยละทุกข้อ หมู่บ้านละ 1 เล่ม เก็บไว้ที่ศูนย์ข้อมูล ตำบล
แบบสำรวจข้อมูลครอบครัวเรียกว่า จปฐ.1
สำรวจ 1 ชุดต่อ 1 หลังคาเรือน สำรวจ โดย อสม. หรือ กม. มอบให้หัวหน้าครอบครัวนำไปติดไว้ที่บ้าน เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรับรู้ปัญหาของครัวเรือน ร่วมกัน
ประโยชน์ของการใช้ จปฐ. ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประโยชน์ในส่วนของประชาชน
ชาวบ้านรู้ปัญหาของตนเอง
ประชาชนไม่สับสนในบทบาทเจ้าหน้าที่ของรัฐ
มีเป้าหมายในการพัฒนา
ประโยชน์ในส่วนของรัฐ/ข้าราชการ
เจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการมีการหล่อหลอมความคิดในการทางานร่วมกันเพื่อชาวบ้าน
กิดเป้าหมายที่แน่นอนสำหรับการพัฒนาประเทศและสังคมในระยะยาว
เจ้าหน้าที่ของรัฐ เกิดการประสานงานกันอย่างจริงจังเป็นรูปธรรม
แนวคิดการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ชุมชนเข้มแข็ง
ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเองได้ในระดับหนึ่ง ด้วยการมีผู้นำที่มีความสามารถ มีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
แต่ละชุมชนได้ใช้ศักยภาพของตนเองเข้าคลี่คลาย และจัดการ
ปัญหาได้ด้วยตนเองภายใต้ความร่วมมือและสนับสนุนจากองค์กรภายนอก
องค์ประกอบของชุมชนเข้มแข็ง
บุคคลหลากหลายที่รวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชนอย่างเป็นทางการหรือไม่ก็ตาม
มีเป้าหมายร่วมกันและยึดโยงเกาะเกี่ยวกันด้วยประโยชน์สาธารณะและของสมาชิก
มีจิตสำนักของการพึ่งตนเอง รักษาเอื้ออาทรต่อกัน และมีความรักท้องถิ่น รักชุมชน
มีอิสระในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำและร่วมรับผิดชอบ
มีการระดมใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ
มีการเรียนรู้เชื่อมโยงกัน เป็นเครือข่ายและติดต่อสื่อสารกันหลายรูปแบบ
มีการจัดทำกิจกรรมที่เป็นสาธารณะของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
มีการจัดการบริหารกลุ่มที่หลากหลายและเครือข่ายที่ดี
มีการเสริมสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่หลากหลายของชุมชนสืบทอดกันตลอดไป
ลักษณะของชุมชนเข้มแข็ง
4.คนมีส่วนร่วมในการประเมินสถานการณ์ของชุมชนกำหนดวิสัยทัศน์ร่วม ร่วมคิดตัดสินใจดำเนินงานติดตามและประเมินผลการแก้ปัญหาและการพัฒนาของชุมชนผ่านกระบวนการชุมชน
5.ชุมชนเกิดการเรียนรู้ผ่านการเข้าร่วมในกระบวนการของชุมชน
มีกระบวนการของชุมชนที่มีการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่องจน เป็นวิถีของชุมชนภายใต้การสนับสนุน ของผู้นำองค์กรชุมชน ในลักษณะเปิดโอกาสให้กับสมาชิกทั้งมวลเข้ามามีส่วนร่วม โปร่งใส และพร้อม ที่จะให้ตรวจสอบ
6.แผนของชุมชนที่ประกอบด้วยการพัฒนาทุก ๆ ด้านของชุมชน ที่มุ่งการพึ่งตนเองเอื้อประโยชน์ต่อ สมาชิกชุมชนทุก ๆ คนและมุ่งหวังการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืนการพึ่งความช่วยเหลือจากภายนอกเป็น การพึ่ง เพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ในที่สุดไม่ใช่การพึ่งพาตลอดไป
2.สมาชิกของชุมชนพร้อมที่จะร่วมกันจัดการกับปัญหาของตนและชุมชน
มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีการพัฒนา อาจเป็นหมู่บ้านชุมชนอื่น ๆ ท้องถิ่นภาคราชการ องค์กร เอกชน นักธุรกิจ นักวิชาการ และอื่น ๆ ในลักษณะของการมีความสัมพันธ์ที่เท่าเทียมกัน
สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมันในศักยภาพของตนและชุมชนที่จะแก้ไขปัญหาและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การส่งเสริมกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อเผชิญปัญหาวิกฤติ โดยพัฒนา ศักยภาพ ให้คนในชุมชนรวมกลุ่มกันร่วมคิดร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมรักษาผลประโยชน์ของชุมชนด้วย
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมทำและร่วมเรียนรู้” เพื่อส่งเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ยุทธศาสตร์เมืองไทยเข็งแรงและยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข
ด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (Community Strengthening)
หลักการ สำคัญ 5 ประการคือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล ความมีระบบภูมิคุ้มกันตนเอง การใช้ความรู้และการ มีคุณธรรมจริยธรรม
ด้านการส่งเสริมพัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Personal Skill Development)
ปฏิรูปการศึกษาของชาติและขยายโอกาสทางการศึกษาเพื่อยกระดับการศึกษาของคนในชาติ
ด้านการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (Healthy Environment)
ได้มีการดำเนินงาน
“เมืองน่าอยู่” (Healthy City)
ด้านการปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข (Health Service System Reorientation)
ด้านนโยบายสาธารณสุขเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy)
ผลักดันนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพต่าง ๆ เช่นการรณรงค์
เพื่อการไม่สูบบุหรี่ การออกกฎหมายเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพและความร่วมมือของชุมชน
การสร้างเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน
การรับฟังความคิดเห็น
การเกี่ยวข้องเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานหรือร่วมเสนอแนะทางที่นำไปสู่การตัดสินใจ
การให้ข้อมูลข่าวสาร
แนวคิดประชาสังคม (Civil Society)
มีการรวมกลุ่มกันซึ่งอาจเป็นการชั่วคราวเฉพาะเรื่องหรือต่อเนื่องก็ได้
การสร้างเครือข่ายความรวมมือและมีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการเชื่อมโยงสมาชิกเข้าด้วยกัน
การรวมตัวกันด้วยความรักเอื้ออาทรและยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกันเพื่อที่จะ เรียนรู้ หรือแก้ปัญหาที่เผชิญอยู่รวมกัน
แนวคิดทุนทางสังคม (Social Capital)
ทุนที่เป็นสถาบัน
สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา การเมืององค์กรที่ตั้งขึ้นใน ชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน คณะกรรมการชุมชน สมาคม ชมรม วิชาชีพต่าง ๆ โรงเรียน วิทยาลัยชุมชนและ สถาบันการศึกษาในท้องถิ่นที่ทำการศึกษา
ทุนทางปัญญา และวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทย และภูมิปัญญาท้องถิ่น (Local wisdom) แหล่งประวัติศาสตร์และโบราณคดี
ทุนมนุษย์
หุ้นส่วนสุขภาพ (Partnership)
บทบาทพยาบาล
ผู้เอื้ออำนวยการแลกเปลี่ยนพูดคุย ( Facilitator )
ผู้ช่วยเหลือ ( Helper )
ผู้ให้ความรู้ ( Health educator )
กระบวนการของหุ้นส่วน ( process of partnership )
การร่วมกันใช้อำนาจ ( power sharing )
ร่วมกันใช้อำนาจแบบเท่าเทียมกันทั้งสองฝ่าย
ความสัมพันธ์แบบเชิงราบ
การเจรจา ( negotiation )
ระยะที่สอง : สร้างความเห็นร่วมกัน ร่วมให้ข้อมูล ร่วมตั้งคำถามและร่วมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนเอื้ออำนวยการตั้งเป้าหมายร่วมกัน
ระยะที่สาม : เจรจาเพื่อให้เกิดแผนการดำเนินงานที่สร้างความพึงพอใจร่วมกันทั้งสองฝ่าย โดยเป็น
แผนที่ช่วยบรรลุความต้องการของผู้รับบริการเป็นหลัก
ระยะเริ่มต้น : ดึงเอาความต้องการและปัจจัยความคาดหวังเกี่ยวกับปัญหาของผู้รับบริการออกมา
เป้าหมายของการพยาบาลชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค และภยันตรายต่าง ๆ การ
รักษาโรคเบื้องต้น การฟื้นฟูสภาพ การแก้ไขสาเหตุและรากเหง้าของปัญหาสุขภาพ
เป้าหมายของการบริการสุขภาพของประเทศไทย
การทำให้ชุมชนแข็งแรง (Healthy Community) ทำให้เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) เป้าหมายของพยาบาลชุมชน จึงเป็นการปฏิบัติงาน เพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง พึ่งตนเองได้ เพื่อคุณภาพชีวิตและสุขภาพของทุกคนที่ดี