Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินเพื่อเฝ้าระวังภาวะIICP - Coggle Diagram
การประเมินเพื่อเฝ้าระวังภาวะIICP
พยาธิสภาพ
ความดันในกะโหลกศีรษะ (increased Intracranial Pressure:IICP) ในผู้ใหญ่ปกติมีค่า ≤ 15 mmHg.ใน IICPความดันในกะโหลกศีรษะ >20 mmHg.กะโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่แข็งล้อมรอบด้วยสัดส่วนที่แตกต่างกันซึ่งประกอบด้วยเนื้อสมอง 80% น้ำไขสันหลัง (Cerebrospinal fluid: CSF) 10% เลือดเลี้ยงสมอง 10% เนื่องจากกะโหลกศีรษะเป็นอวัยวะที่มีปริมาตรคงที่จำกัดหากมีพยาธิสภาพทำให้ปริมาตรของส่วนประกอบอันใดอันหนึ่งเพิ่มขึ้นอาจส่งผลให้เกิด IICPได้ และ/หรือเกิดการย้ายที่หรือกดเบียดของส่วนประกอบอื่นๆ ในกะโหลกศีรษะ แสดงว่าสมองมีความผิดปกติจึงมีแรงต้านหลอดเลือดส่งผลให้การไหลเวียนของเลือดในสมองลดลง เนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจนซึ่งเป็นสาเหตุการตายของผู้ป่วยทางระบบประสาท
มีสิ่งกินในสมองเกิดขึ้น หรือมีการเพิ่มของปริมาตรเนื้อสมอง น้ำไขสันหลังหรือเลือดจะมีการปรับตัวของส่วนประกอบเหล่านี้ ซึ่งบรรจุในกะโหลกศีรษะ เพื่อพยายามรักษาระดับของความดันในกะโหลกศีรษะให้คงที่ ระยะนี้เรียกว่า compensatory phase
โดยการปรับชดเชยในระยะแรกสุด จะเป็นการพยายามลดจำนวนของ CSF คือ การกระจายของน้ำไขสันหลังไปยังไขสันหลังเพิ่มขึ้น ถ้าความดันในกะโหลกศีรษะยังสูงต่อ
ไปอีกก็จะการลดการสร้างน้ำไขสันหลังที่ choroid plexus ลง และการเพิ่มการดูดกลับของน้ำไขสันหลังที่ arachnoid villi ระยะต่อมาจะมีการปรับชดเชยโดยการลดปริมาตรเลือดในสมอง โดยการถ่ายเทเลือดดำไปยังบริเวณ venous sinusขึ้น และลดปริมาณการไหลเวียนเลือดมายังสมอง
สาเหตุ
การเพิ่มปริมาตรของน้ำไขสันหลัง
เนื้องอกของหลอดเลือดส่วนที่ทำหน้าที่สร้างน้ำไขสันหลัง ทำให้น้ำไขสันหลังผลิตออกมามากกว่าปกติ หรือเนื้องอกในโพรงสมองหรือเนื้อสมองที่ไปเบียดทำให้น้ำไขสันหลังไหลเวียนได้ไม่ดี
การเพิ่มปริมาตรของเนื้อสมองหรือมีสิ่งกินที่ในเนื้อสมองหรือสมองได้รับบาดเจ็บ
ฝีในสมอง
เนื้องอกในสมอง
เลือดออกในสมอง
ภาวะการยื่นของสมอง ( Brain hermiation) เมื่อมีรอยโรคจะมีความดันแผ่ไปยังกลีบสมองอื่น สมองจะถูกเบียดและดันให้เคลื่อนตัวลงสู่ส่วนล่างที่มีความดันต่ำกว่าทำให้เกิดการยื่นของสมอง
อาการและอาการแสดง
ปวดทั่วศีรษะ
อาเจียนพุ่ง
สับสน กระสับกระส่าย ไม่รับรู้วัน เวลา
สถานที่ บุคคล หรือมีอาการง่วงซึม
แขนขาอ่อนแรง
คะแนนระดับความรู้สึกตัวลดลงมากกว่า
2 คะแนน (ประเมินโดยใช้ GCS)
อาการระยะท้าย; coma หยุดหายใจหรือหายใจแบบ Cheyne- strokes อุณหภูมิร่างกายจะเพิ่ม
ขึ้น รูม่านตาขยายหรือไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
การประเมินผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพที่สมองจะมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงมากกว่าร้อยละ 70 มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงภายใน 24 - 72 ชั่วโมงแรก และมีโอกาสเกิดได้สูงสุดใน 6 ชั่วโมงแรกหลังผ่าตัด
ขนาดของ pupil ที่เปลี่ยนแปลง 2 ข้าง
และปฏิกิริยาตอบสนองต่อแสง
ค่า ICP (กรณีมี ICP
monitoring)
ประเมินGlasgow Coma Scale : GCS
การแปลค่าระดับสำหรับ GCS. คือ 15 คะแนน คือ ระดับคะแนนที่ดีที่สุด ส่วนคะแนน 3 คะแนน คือ คะแนนที่น้อยที่สุด หมายถึง ผู้ป่วย coma ระดับคะแนนที่น้อยกว่า 8 ถึงเป็นข้อบ่งชี้ที่ต้องระวัง เพราะผู้ป่วยอาจจะเข้าสู่ระยะ coma
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
(Cushing response, Cushing reflex) ความดันซิสโตลิคเพิ่มสูงขึ้น ความดันชีพจร (pulse pressure) กว้าง>60% หัวใจเต้นช้า ≤ 60bpmการหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ใช้ยาในกลุ่มยาขับปัสสาวะ ลดความดันภายในลูกตาหรือกะโหลกศีรษะ
วันที่13/11/64 ได้รับยา20%manital 100ml v q 8 hr.
การผ่าตัด
ได้รับการผ่าตัดCraniectomyวันที่14/11/64
หญิงไทยอายุ66ปีCC:มีเลือดออกหูหายใจไม่อิ่ม 1 hr.ก่อนมารพ.
PI:1ชม.ก่อนมารพ.ขับMCชนกับรถตู้ศีรษะกระแทกที่รพช.พูดคุยสับสนมีเลือดออกหูขวาจมูกปากFAST positiveจึงreferมาที่รพ.ขอนแก่น
Mild Traumatic Brain Injury csubarachnoid hemorrhage c Intracerebral hemorrhage Lt c base off skull fracture Rt c cfx rib3-4,6-9,Rt c pneumothorax c s/p ICD c craniectomy c blunt abdominal liver gr II c Rt Adrenal gland injury
CT-Brainวันที่14พบ cerebral contusion+midline shift
วันที่14pupilไม่เท่ากัน ขวา 2ซ้าย 3 moter power ขวา 2ซ้าย5GCS E3VEM5 BT36.0-37C BP145/62 pulse pressure 83 PR 77 RR 18 bpm O2sat 100%