Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและเทคนิคการดูแลทางเดินหายใจโดยความเอื้ออาทรด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์…
หลักการและเทคนิคการดูแลทางเดินหายใจโดยความเอื้ออาทรด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอน
แสดงกลไกการไอเมื่อถูกกระตุ้น หายใจเข้า กลั้นหายใจ และไอออกสู่บรรยากาศด้วยความแรงและเร็ว
การบริหารการหายใจ
Abdominal or diaphragmatic breathing exercise
การหายใจแบบนี้เป็นการหายใจที่ ใช้พลังงานน้อยที่สุดแต่ได้ปริมาณลมหายใจเข้า-ออกจากปอดมากที่สุด วิธีนี้เหมาะสำหรับเด็กโตที่สามารถเข้าใจและทำตามคำสั่งได้
วิธีการคือให้เด็กนั่งหรือนอนก็ได้ วางมือ
ข้างหนึ่งทาบบนหน้าอก อีกข้างหนึ่งวางบนหน้าท้อง ผ่อนคลายกล้ามเนื้อหน้าท้อง สูดหายใจเข้าลึกๆทางจมูก
นับ 1-2-3 เพื่อกักลมหายใจไว้สักพักก่อนหายใจออกให้ห่อปากในลักษณะเหมือนผิวปากหรือเป็นรูปตัว O ควบคุมให้ลมหายใจออกนานเป็น 3 เท่าของระยะเวลาหายใจเข้า
ทำวิธีนี้ติดต่อกัน 8-10 ครั้งทุกชั่วโมงในช่วงเวลาตื่น
Localized expansion breathing exercise
การหายใจแบบนี้เป็นการเน้นให้มีลมเข้า-ออกในปอดส่วนที่ต้องการ
วิธีการคือวางมือตรงบริเวณปอดที่ต้องการขยาย ใช้ปลายนิ้วมือกดเบาๆพอที่จะมีความรู้สึกว่า ในช่วงหายใจเข้า-ออก ปอดที่อยู่ใต้บริเวณที่มือวางอยู่เกิดการโป่งออกและยุบลงพยายาม กระตุ้นให้หายใจเข้าออกให้แรงที่สุดเท่าที่จะทำได้ ถ้าสามารถกลั้นหายใจได้ ให้กลั้นหายใจภายหลังหายใจเข้าให้นานที่สุดเท่าที่จะกลั้นได้ก่อนหายใจออก
การให้ออกซิเจน
Nasal cannula
เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการความเข้มข้นออกซิเจนไม่สูง
ไม่ควรใช้อัตราการไหลของออกซิเจนที่สูงเกินไปเนื่องจากอาจทำให้เยื่อบุจมูกแห้งและแสบจมูกได้
ข้อควรระวัง :warning:
ขนาด nนasal prong ที่ใหญ่เกินไปจะทำให้เกิดการอุดกั้นและระคายจมูก เลื่อนหลุดง่ายทำให้เกิดการขาดออกซิเจน
ค่า Fio2 ที่ได้ 24%-40%
Simple face mask
เป็นหน้ากากครอบบริเวณจมูกและปำกมีสายรัดศีรษะเหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ต้องการความเข้มข้นออกซิเจนระดับปานกลาง 35%-50% ในช่วงระยะเวลาสั้นๆ
ควรเปิด flow rateไม่ควรน้อยกว่า 5 L/minเพื่อป้องกันการคั่งของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ใน mask ที่เกิดขึ้นขณะหายใจออก
Partial-rebreathing mask
เป็นหน้ากากให้ออกซิเจนเช่นเดียวกับ simple face mask แตกต่างกันที่มี reservoir bag เพื่อเก็บก๊าซออกซิเจนไว้ ให้ความเข้มข้นออกซิเจน 40%-60% เมื่อเปิดอัตราการไหลของก๊าซ 6-10 ลิตร/นาที
Oxygen hood
ลักษณะเป็นกล่องพลาสติกใสวางครอบศีรษะเด็กเหมาะสำหรับการให้ออกซิเจนในทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ประมาณ 30%-70%
ข้อควรระวัง :warning:
อาจเกิดการกดทับบริเวณคอผู้ป่วยได้ และหากวางใกล้ใบหน้าเด็กอาจทำให้เด็กตาบอดได้
T – PIECE
นิยมใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการออกซิเจนและความชื้นสูง
เปิดอัตราการไหลของออกซิเจน 10-15 ลิตร/นาที ตามจำนวนที่แพทย์สั่ง ซึ่งจะให้ความเข้มข้นของออกซิเจน 40%-50%
การดูดเสมหะ
หมายถึง การใช้สายยางดูดเสมหะซึ่งปราศจากเชื้อผ่านเข้าทางท่อช่วยหายใจเพื่อนำเสมหะออกจากทางเดินหายใจช่วยให้ทางเดินหายใจโล่ง
ข้อบ่งชี้ :unlock:
ผู้ป่วยหายใจมีเสียงเสมหะ ผู้ป่วยหายใจหอบ หายใจลำบาก ใช้แรงในการหายใจมากขึ้น ผู้ป่วยไอบ่อยเสียงเสมหะ
ผู้ป่วยร้องขอให้ดูดเสมหะ และดูดก่อนให้อาหารทางสายยาง
วัตถุประสงค์ :explode:
ช่วยขจัดเสมหะทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
ป้องกันการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ป้องกันหรือลดการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมิน (Assessment)
: :red_flag:
ประเมินเสียงปอด ระดับค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน (Oxygenation saturation level)
ลักษณะการหายใจอตัราการหายใจความเจ็บปวดและความทนต่อความเจ็บ ปวดของผู้ป่วยและประเมินความเหมาะสมของสายดูดเสมหะและความลึก
การวางแผนการพยาบาลและผลลัพธ์ :<3:
ผู้ป่วยหายใจสะดวก เสียงหายใจปกติ อัตราการหายใจ ลักษณะการหายใจปกติหรือเป็นที่ยอมรับบตาม
ลักษณะโรคและช่วงอายุของผู็ป่วยไม่แสดงอาการหายใจลำบาก
ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนปกติหรือดีขึ้น
ข้อควรระวัง :warning:
การเลือกขนาดสายดูดเสมหะใหเ้หมาะสมกบัขนาดท่อช่วยหายใจโดยเส้นผา่ ศูนยก์ลางดา้นนอกของ
สายดูดเสมหะไม่เกิน ½ ของเส้นผา่ ศูนยก์ลางดา้นในของท่อช่วยหายใจ
ควรเตรียมอุปกรณ์ฉุกเฉินให้พร้อมข้างเตียงผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจทุกราย
ระวังการปนเปื้อนของถุงมือ สายดูดเสมหะ บริเวณข้อต่อ
การต่อเครื่องช่วยหายใจอย่างถูกต้องหลังดูดเสมหะ
การจัดท่าและการเคาะปอด
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่มีเสมหะคั่งค้างในหลอดลมจำนวนมาก
ผู้ป่วยที่มีภาวะปอดแฟบจากการอุดตันของเสมหะ
ผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคของหลอดลม
ผู้ป่วยหลังถอดท่อช่วยหายใจและยังมีเสมหะมาก
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถระบายเสมหะได้เอง
การจัดท่าเพื่อระบายเสมหะ
upper lobe
Anterior segment
left upper lobe
Lingular segment
Right middle lobe
lower lobe
Superior segment
Posterior segment
Anterior segment
Lateral segment
การเคาะปอด
Apical segment ของ upper lobe
Posterior segment ของ upper lobe