Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.ตัวแปรมาตราการวัดและการออกแบบการวัดตัวแปร - Coggle Diagram
5.ตัวแปรมาตราการวัดและการออกแบบการวัดตัวแปร
ตัวแปร Viriable
คุณลักษณะ/คุณสมบัติของสิ่งต่างๆที่มีความผันแปรไปตามหน่วยและเวลา
ความผันแปรไปทางคุณภาพ
ศาสนา
ภูมิลำเนา/สตา
เพศ/เชื้อชาติ
ความผันแปรในเชิงปริมาณ
อายุ/น้ำหนัก
ส่วนสูง
คะแนนสอบ/ความเร็ว
ประเภทของตัวแปร3ประเภท
2.แบ่งตามการกระทำ
ตัวแปรที่สามารถจัดกระทำได้-//ผู้วิจัยสามารถดำเนินการให้มีการแปรค่าตามที่ต้องการได้ หรือสร้างลักษณะนั้นขึ้นมาได้/// อุณหภูมิห้องทำงาน
ตัวแปรทที่ไม่สามารถจัดกระทำได้-//ผุ้วิจัยไม่สามารถสร้างขึ้นมาได้ เป็นลักษณะเดิมที่อยู่ในประชากร
3.แบ่งตามภาวะแทรกซ้อน/ตัวแปรเกิน Extraneous Varible
ตัวแปรอิสระที่ไม่มีอยู่ในข่ายการศึกษา แต่มีผลต่อตัวแปรที่มุ่งศึกษา
ตัวแปรปรับ// Moderator Variable///ระดับการแปรค่าตัวแปรปรับที่มีผลต่อระดับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม
ตัวแปรสอดแทรก//Intervening Variable/// เป็นตัวแปรที่แทรกเข้ามาเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม
ตัวแปรกดดัน//Suppressor Variable///ตัวแปรที่กดดันให้ตัวแปรอิสระมีผลต่อตัวแปรตาม
1.แบ่งตามความเป็นเหตุผลแก่กัน
วิจัยกึ่งทดลอง/วิจัยเชิงสาเหตุ
ตัวเเปรอิสระ Independent
ตัวแปรตาม Dependent
คุณลักษณะสำคัญของมาตรการวัด
มาตราเรียงลำดับ (Ordinal Scale)
ใช้กับข้อมูลที่สามารถจัดเรียงอันดับความสำคัญได้ หรือสามารถเปรียบเทียบกันได้ ฐานนิยม มัธยฐาน พิสัย เปอร์เซนต์ไทล์
ยศ/ตำแหน่ง
ลำดับผลสอบ
มาตราอันตรภาค (Interval Scale)
เป็นมาตรการวัดที่สามารถบอกได้ทั้งทิศทางและขนาดของความแตกต่างของข้อมูล มาตรวัดนี้ไม่มีศูนย์ที่แท้จริง (absolute zero)/ทุกวิธี
อุณหภูมิ/ปี/พ.ศ.
คะแนนสอบ/คะแนนไอคิว
มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)
จัดข้อมูลออกเป็นกลุ่ม ๆ แยกตามประเภทหรือชนิด ความถี่ ร้อยละ ฐานนิยม
เพศ/การไปใช้สิทธิ์
ศาสนา/เชื้อชาติ
มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale)
เป็นมาตรการวัดที่มีลักษณะสมบูรณ์ทุกอย่าง ดีกว่ามาตรวัดอันตรภาค ตรงที่มาตรการวัดนี้มีศูนย์ที่แท้จริง /ทุกวิธี
น้ำหนัก/ส่วนสูง
ความเร็ว/พื้นที่
การออกแบบการวิจัย3
1.การออกแบบการวัดตัวแปร
1.1กําหนดวัตถุประสงค์ของการวัดให้ครอบคลุมและชัดเจน
กรอบแนวคิด
1.2กำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรที่ต้องการวัด
1.3กําหนดมาตรวัด(scale)และสร้างเครื่องมือวัดให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวัดและตัวแปรที่ต้องการจะวัด
แบบวัด
แบบทดสอบ
1.4 ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือในด้านความตรงความเที่ยง
1.5กําหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยระบุวิธีการ ช่วงระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ปฐมภูมิ/เก็บข้อมูลทางตรง/การสอบ-สัมภาษณ์
ทุติยภูมิ/เก็บข้อมูลทางอ้อม/ข้อมูลที่เคยเก้บไว้อยู่แล้วเอกสาร
1.6กําหนดวิธีการควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
ควบคุมความแปรปรวนของตัวแปรแทรกซ้อน ควบคุมอิธิพลของตัวแปรที่ไมได้รับการศึกษา
การจับคู่/การทำให้คงที่/การเพิ่มให้เป็นตัวแปรที่ศึกษา/การใช้วิธีทางสถิติ
การสุ่ม
สู่กลุ่มการทดลอง
ประชากร
เข้ารับการจัดกระทำ