Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ - Coggle Diagram
การกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
เพื่อให้ครูนำผลการประเมินการเรียนรู้ไปปรับปรุงการเรียนการสอนของตนเอง
เพื่อประโยชน์ในการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น
เพื่อใช้ผลการประเมินการเรียนไปกระตุ้นความพร้อมและแรงจูงใจในการเรียนของผู้เรียน
เพื่อใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารบุคคลของผู้บริหาร
2.หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ทำอย่างเป็นระบบและมีความเชื่อมั่น
เป็นกลางและยุติธรรมด้วยเครื่องมือที่เหมาะสมกับการประเมิน
สามารถประเมินในสิ่งที่ปฏิบัติจริงได้
นำผลผลที่ได้มาสะท้อนและปรับปรุงการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
แนวคิดการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง
ความหมายของการประเมินตามสภาพจริง
เน้นการประเมินทักษะการคิดที่ซับซ้อน ทักษะการทำงาน ความสามารถในการแก้ปัญหา
โดยมีผู้เกี่ยวข้องในการประเมินหลายฝ่าย
เป็นการประเมินที่มีลักษณะที่ไม่เป็นทางการ
หลักการประเมินตามสภาพจริง
ผู้สอนต้องอาศัยข้อมูลจากการประเมินจากการปฏิบัติงานที่มีความหมาย และสอดคล้องกับสภาพจริง
ผู้สอนต้องมีความยืดหยุ่นในการประเมินสูง
ให้โอกาศผู้เรียนได้แสดงศักยภาพของตนเองก่อนการประเเมิน
อาจจะต้องพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน การปฏิบัติงานจริง
ลักษณะของการประเมินตามสภาพจริง
ประเมินออกมาเพื่อสะท้อนให้เห็นพฤติกรรมและทักษะของนักเรียนในสถานการณจริง
เน้นงานที่นักเรียนแสดงออกในภาคปฏิบัติ กระบวนการเรียนรู้ผลผลิต และแฟ้มสะสมผลงาน
เรียงความเป็นการประเมินการปฏิบัติงานในสภาพจริง
เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการประเมินผลและการจัดการบวนการเรียนรู้ของตนเอง
ต้องคำนึงถึงหลักสูตร ต้องประเมินไปพร้อมกับหลักสูตรเสมอ
ใช้เทคนิคการประเมินหลากหลายวิธี
ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
เน้นทักษะการคิดที่ซับซ้อน พิจารณาการทำงานและการแก้ปัญหาของนักเรียน
เกณฑ์ที่ใช้ประเมินต้องใช้แกนประเมิน "แก่นแท้"
การประเมินตนเอง
ประเมินจากการนำเสนอผลงาน
วิธีการและเคริ่องมือการประเมินตามสภาพจริง
การสังเกต สัมภาษณ์
แบบสอบถามและแบบทดสอบวัดความสามารถที่แท้จริง
บันทึกจากผู้เกี่ยวข้อง
การรายงานตนเอง แฟ้มสะสมผลงาน
การสร้างจินตภาพ
การกำหนดเกณฑ์การประเมินตามสภาพจริง นิยมใช้ รูบริคส์
การดึงดูดความสนใจ
3 คะแนน เรื่องราวน่าสนใจตลอดเรื่อง
2 คะแนน เรื่องราวน่าสนใจเป็นช่วงๆ
1 คะแนน เรื่องราวน่าสนใจน้อยมาก
เนื้อหา
3 คะแนน สมบูรณ์ น่าเชื่อถือทั้งเรื่อง
2 คะแนน ขาดความสมบูรณ์และไม่ น่าเชื่อถือบางส่วน
1 คะแนน ไม่สมบูรณ์และไม่น่าเชื่อถือ อย่างมาก
การลำดับเรื่อง
3 คะแนน ลำดับเรื่องราวต่อเนื่อง ชวนติดตามตลอดเรื่อง
2 คะแนน ลำดับเรื่องราวต่อเนื่องเป็นส่วน ใหญ่ชวนติดตามพอสมควร
1 คะแนน ลำดับเรื่องราวไม่ค่อยต่อเนื่อง และไม่ชวนติดตาม
การนำผลการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ไปใช้
การรู้จักผู้เรียน
การวางแผนการจัดการเรียนรู้
การใช้วิธีการและเทคนิคการจัดการเรียนรู้
การปรับปรุงบุคลิกภาพผู้สอน
การประเมินตามสภาพจริง
บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการรับฟังการบรรยาย
สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวัดผลการเรียนรู้ในอนาคตการเป็นครูได้