Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 31 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 31 ปี
Gastric outlet obstruction
พยาธิ
เมื่อทางออกของกระเพาะอาหารถูกอุดกั้น ทำให้อาหารตกค้างอยู่ในกระเพาะอาหารเป็นเวลานาน กล้ามเนื้อกระเพาะอาหารยืดขยายและหนาตัวขึ้น กระเพาะอาหารจะถูกกระตุ้นให้บีบตัวเพิ่มขึ้น อาหารไม่สามารถผ่านไปยังลำไส้ได้จึงขย้อนกลับมายังหลอดอาหาร
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยที่มีการอุดตันของกระเพาะอาหาร จะมีอาการแสดง คือ รับประทานอาหารได้น้อย หลังอาหารเกือบทุกมื้อ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ผู้ป่วยที่มีแผลที่ลําไส้เล็กจะมีอาการปวดบริเวณใต้ลิ้นปี่เหนือสะดือขึ้นไป หรือปวดใต้ชายโครงซ้าย และอาจปวดร้าวหรือปวดทะลุไปด้านหลัง ปวดเรื้อรัง โดยมากเป็นๆหายๆ อาการปวดอาจไม่สัมพันธ์กับเวลารับประทานอาหาร บางรายอาจมีอาการจุกเสียด แน่นท้อง ท้องเฟ้อ อาเจียน
ข้อมูลสนับสนุน
S:1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ปัสสาวะไม่ออก ถ่ายไม่ออก
มารดาสวนทวารให้ถ่ายออกได้แต่ท้องยังอืด จึงมาโรงพยาบาล
O : Bowel sound=122 ครั้งต่อนาที
S:2 วันก่อนมาโรงพยาบาลมารดาให้ประวัติว่า ถ่ายไม่ออก ท้องอืด อาเจียน 4 ครั้ง
O:Gastric content = ได้ bile 500 ml (14/10/64)
O:ลักษณะของ Gastric content เป็น Coffee ground
O : ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ Urine Anylysis = H.Pylori
O:จากการตรวจร่างกายพบว่าหน้าท้องโป่งตึง
O : On NG with Suction
O : ผู้ป่วยมีสีหน้านิ่ว คิ้วขมวด
O : WBC=10.56 Eosinophi 7.8%
NDx.ไม่สุขสบายเนื่องจากปวดท้องและได้รับการอุปกรณ์ทางการแพทย์
เข้าสู่ร่างกายได้แก่ สาย NG With Suction และสายให้สารน้ําทาง C-line
วัตถุประสงค์ของการพยาบาล
ผู้ป่วยมีความสุขสบายมากขึ้นในการใส่อุปกรณ์ การแพทย์เข้าสู่ร่างกาย
เกณฑ์การประเมิน
1.ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของอาการท้องอืด
เช่น หน้าท้องไม่โป่งตึง ขับถ่ายปกติ
2.ค่า Bowel sound = 16-20 ครั้งต่อนาที
3.ผู้ป่วยไม่มีสีหน้านิ่วคิ้วขมวดและสีหน้าที่บ่งบอกถึงความไม่สบายต่างๆ
กิจกรรมการพยาบาล
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบถึงพยาธิสภาพของโรคทางออกของกระเพาะอาหารอุดตัน อย่างคร่าวๆ รวมถึงแนวทางการรักษาของแพทย์เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงความจําเป็นในการใส่อุปกรณ์ทางการแพทย์
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนตะแคงงอตัว หรือท่าศีรษะสูง เพื่อให้ผู้ป่วยผ่อนคลายและรู้สึกสุขสบาย
ให้การพยาบาลผู้ป่วยด้วยความนุ่มนวลให้เกียรติและเป็นกันเองกับผู้ป่วย
ดูแลให้ยาลดกรดลดการหลั่งของน้ําย่อยและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร Losec 40 mg V OD
ตามแผนการรักษาของแพทย์
ดูแลบริเวณเตียงและบริเวณรอบๆ ให้สะอาด ปลอดภัยตลอดจนจัดวางอุปกรณ์ทางการแพทยให้อยู่ใน
ตําแหน่งที่เหมาะสม ไม่เกิดการดึงรั้งหรือขัดขวางการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย
วางแผนดูแลให้การพยาบาลเป็นเวลาอยางมีระบบไม่เป็นการรบกวนผู้ป่วยเพื่อใหผู้ป่วย สามารถพักผ่อนได้อย่างเพียงพอช่วยบรรเทาความรู้สึกไม่สุขสบายของผู้ป่วย
NDx.3
ญาติวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้กี่ยวกับโรคทางออกของกระเพาะอาหารอุดตัน และไม่ทราบแนวทางการรักษาพยาบาล
Epilepsy
พยาธิ
ช่วงอายุทีเกิดโรคลมชักสูงคือช่วงทารกแรกเกิดและเด็กเล็ก สาเหตุที่ทําให้เกิดโรคลมชักใน
ช่วงวัยแรกเกิดมักจะ เป็นพยาธิสภาพที่เกิดในช่วงการคลอดเช่นผลของการขาดออกซิเจนการติดเชื้อที่ระบบประสาท โรคลมชักเป็นกลุ่มอาการของผู้ป่วยทางสมองเรื้อรังที่แสดงออกให้เป็นอาการชักเป็นความผิดปกติร่วมกันของระบบประสาทอัตโนมัติส่วนรับความรู้สึกและส่งความรู้สึกซึ่งเกิดจากการผิดปกติของคลื่นไฟฟ้าในสมองโดยอาจเกิดเฉพาะที่หรือกระจายไปทั่วสมองได้ทำให้มีอาการแสดงต่างๆกันออกไป สาเหตุของโรคลมชักอาจเกิดจากการมีพยาธิสภาพต่างๆของสมอง เช่น การติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง อุบัติเหตุ เนื้องอก ภาวะสมองขาดเลือด การได้รับสารพิษต่างๆ ไข้สูงในเด็ก รวมถึงสภาวะของจิตใจและในผู้ป่วยบางคนจะยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด
NDx.บกพร่องในการดูแลตนเองเนื่องจากภาวะของโรคลมชักจนไม่สารถเคลื่อนไหวร่างกายได้
PRESSURE INJURY
พยาธิ
สาเหตุหลักของการเกิดแผลกดทับคือแรงกดและแรงไถล เป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เนื้อเยื่อบริเวณนั้นขาดออกซิเจน โดยมีความเกี่ยวข้องกับ
ความแรงของแรงกด (Intensity of pressure)
ระยะเวลาที่กด (Duration of pressure) *ความทนทานของเนื้อเยื่อ (Tissue tolerance)
NDx.เสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับเนื่องจากขาดความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย
Ndx.สูญเสียความสมบูรณ์ของผิวหนังเนื่องจากเคลื่อนไหวไม่ได้
ข้อมูลสนับสนุน
Superior mesenteric artery syndrome
พยาธิ
เป็นสาเหตุของลำไส้เล็กอุดตัน ที่พบได้ไม่บ่อยเกิดจากมุมระหว่าง
หลอดเลือดแดง superior mesenteric และหลอดเลือดแดง aorta แคบลง มีผลให้ลำไส้เล็กดูโอดีนัมส่วนที่สามถูกกดมักมาด้วยอาการของภาวะกระเพาะอาหารอุดตันและอาเจียนมีน้ำดีหรืออาจมาด้วย
อาการไม่จำเพาะ
Under nutrition or nutritional deficiency
พยาธิ
เกิดจากการที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ โดยขาดสารอาหารเพียงชนิดเดียวหรือมากกว่า 1 อย่าง และ อาจขาดพลังงานหรือไม่ก็ได้ เช่น ภาวะการขาดโปรตีนและพลังงาน (protein energy malnutrition) นอกจากนี้ยังมี ภาวะการณ์ขาดสารอาหารจำพวก micronutrients ได้แก่ การขาดธาตุเหล็ก ไอโอดีน และวิตามินต่างๆ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญ ที่พบได้ทั่วโลก
NDx.ร่างกายเสียสมดุลของน้ำและอิเลกโตรไลท์เนื่องจากการดูดซึมของระบบทางเดินอาหาร บกพร่อง และได้รับการ งดน้ำงดอาหารทางปากทุกชนิด
O: งดน้ำงดอาหารทางปากทุกชนิด