Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคตับแข็ง(Cirrhosis), สมาชิก, อ้างอิง, เกศรินทร์ ถานะภิรมย์. (2563). …
โรคตับแข็ง(Cirrhosis)
-
อาการแสดง
-
-
-
-
ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดลดลงเนื่องจากPulmonary vascular shunts ทำให้การแลกเปลี่ยนระหว่างออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์ลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะเขียว
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือดเนื่องจากตับทำหน้าที่สังเคราะห์ปัจจัยการเเข็งตัวของเลือดลดลง
มีความผิดปกติของฮอร์โมน Estrogenและ Androgenเนื่องจากตับเสื่อมสภาพ
-เพศชาย =ลูกอัณฑะฝ่อ ขนบริเวณรักแนชร้หัวเหน่า หน้าอกลดลง สมรรถภาพทางเพศลดลง มีเต้านมโตเหมือนผู้หญิง
-เพศหญิง= มีประจำเดือนน้อยหรือขาดหาย ขนาดของเต้านมเล็กลง
-
-
พยาธิสภาพ
เกิดจากมีการตายของเซลล์ตับทำให้เกิดเป็นพังผืด (fibrosis) และแผลเป็น (scar) อุดกั้นการไหลเวียนเลือดในตับ เซลล์ตับที่งอกใหม่มีลักษณะเป็นปุ่ม (nodules) เป็นผลให้โครงสร้างและประสิทธิภาพของเซลล์ ตับเปลี่ยนแปลง เกิดความไม่สมดุลของสารน้ำ และ แร่ธาตุ ไม่สามารถเผาผลาญฮอร์โมนและกำ จัดของเสียออกจากร่างกาย รวมทั้งไม่สามารถดูดซึม ไขมันและวิตามินที่ละลายในไขมันได้ ในระยะแรก จะมีอาการไม่ชัดเจน ตับแข็งที่ยังทำ งานได้ดีเรียก ว่าระยะ compensate cirrhosis แต่เมื่อมีการ เปลี่ยนแปลงภายในเซลล์ตับมากขึ้น หลอดเลือดใน ตับจึงหลั่งไนตริกออกไซด์ (nitric oxide) และ กลูคากอน (glucagon) ทำให้เกิดการขยายตัวทั้ง หลอดเลือดดำ และหลอดเลือดแดง เป็นผลให้ความ ดันในหลอดเลือดพอร์ทัลสูง จนเกิดการย้อนกลับ ของเลือดในระบบทางเดินอาหาร ส่งผลให้แรงดัน ในหลอดเลือดฝอยสูงขึ้น มีการรั่วซึมของสาร น้ำ เข้าไปในช่องท้อง เกิดภาวะท้องมาน โซเดียม และสารน้ำ คั่งในร่างกาย ส่งผลให้ผู้รับบริการมี ระดับโซเดียมในเลือดต่ำ ระยะนี้จะเรียกว่า decompensated cirrhosis ขณะเดียวกันเลือดไม่ สามารถไหลผ่านตับเข้า Inferior vena cava เพื่อ กลับเข้าสู่หัวใจได้ ส่งผลให้ cardiac output ลดลง ร่างกายจึงกระตุ้นฮอร์โมน renin-AngiotensinAldosterone system (RAAS) เพื่อเพิ่มปริมาณ น้ำ และโซเดียมในระบบไหลเวียนเลือด ขณะเดียวกันความสามารถของไตจะลดลง เป็นผลให้ เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ตามมา
-
-
-
เกศรินทร์ ถานะภิรมย์. (2563). Complications of liver cirrhosis. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
-
มณฑิรา มณีรัตนะพร,สุพจน์ นิ่มอนงค์,อวยพร เค้าสมบัติวัฒนา. (2563). Pracical GASTROENTEROLOGY & HEPATOLOGY. กรุงเทพ: พริ้นท์เอเบิ้ล.
สมบัติ ตรีประเสริฐสุข. (2557). Nonalcoholic Fatty Liver:โรคตับคั่งไขมันที่ไม่ได้เกิดจากแอลกอฮอล์. กรุงเทพ: สร้างสื่อ จำกัด.
พัสมณฑ์ คุ้มทวีพร,จันทนา รณฤทธิวิชัย,วิไลวรรรณ ทองเจริญ,วีนัส ลีฬหกุล. (2558). พยาธิสรีรวิทยาทางการพยาบาล. กรุงเทพ: ทีเอสบี โปรดักส์.
-
Liames J, Logomarsino JV. Protein recommendations for older adults with cirrhosis: a review. J Gastroenterol Hepatol Res 2015;4(4):1546-56.
ญานิศา ดวงเดือน. (2561). บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้รับบริการโรคตับแข็ง
ที่มีภาวะแทรกซ้อน. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย,12 (2), 51-61. สืบค้นจากfile:///C:/Users/admin/Downloads/239927-Article%20Tex822866-1-10-20200224.pdf