Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย, บทบาทสตรีในประวัติศาสตร์ไทย …
บทบาทของสตรีในประวัติศาสตร์ไทย
บทบาทสตรีในประวัติศาสตร์ไทย สมัยรัชกาลที่5
ถึง สงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ทรงเป็นผู้ส าเร็จราชการแผ่นดินแทนพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งโรงเรียนสตรี เช่น โรงเรียนราชินี โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ทรงตั้งโรงเรียนแพทย์ผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราช
ทรงริเริ่มก่อตั้งสภาอุนาโลมแดง (สภากาชาดไทย)
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
ทรงพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชนในหัวเมือง สอนหนังสือและอาชีพแก่ชาวบ้านโดยเฉพาะการทอผ้า
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรี พระอัครราชเทวี
ทรง
เชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์ รัชกาลที่ ๕ ให้ดำรงตำแหน่งราชเลขานุการฝ่ายใน และทรงพระราชนิพนธ์ สุขุมาลนิพนธ์
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
ทรงเชี่ยวชาญด้าน
โภชนาการ ทรงปลูกฝังเรื่อง ศิลปวัฒนธรรมโดยเฉพาะด้านดนตรีไทย
พระราชชายาเจ้าดารารัศมี
ทรงสนับสนุนการก่อตั้งและดำเนินงานของโรงเรียนในเชียงใหม่
ทรงริเริ่มนำฟ้อนพื้นเมืองมาแสดงในงานเฉลิมฉลองและให้ความอุปถัมภ์ศิลปะและหัตถกรรมพื้นบ้าน
ทรงนำวัฒนธรรมสยามไปประยุกต์ใช้ในล้านนา
เจ้าจอมมารดาแพ
ทรงปรับปรุงแก้ไขขนบธรรมเนียมต่างๆ ให้
ทันสมัย และทรงส่งเสริมการสาธารณสุขแก่ประชาชนทั่วไป
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์
ท่านจัดระเบียบแบบแผนการ
รักษาพยาบาลและปรับมาตรฐานการศึกษาให้ทันสมัย
แพทย์หญิง ดร.คุณเพียร เวชอุบล
บทบาทของท่านคือ การ
บำบัดรักษาและป้องกันกามโรคแก่บุรุษและหญิงขายบริการและก่อตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้านอกสมรส ในชื่อว่า มาตาภาวาสถาน
ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ท่านตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
ยกสถานภาพของสตรี เช่น สิทธิความเสมอภาคในการดำรงตำแหน่งทางราชการ ก่อตั้งสภาสตรีแห่งชาติ
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนพิสมัย ดิศกุล
ท่านมีความรอบรู้เรื่องกิจการ
บ้านเมืองต่างประเทศ ศิลปวัฒนธรรมท่านร่วมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกชนสัมพันธ์แห่งโลก
หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร (เจ้าศรีพรหมมา ณ น่าน)
ท่านน า
เทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในการทำฟาร์มและครอบครัว
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
ท่านร่วมก่อตั้งสภาอุณาโลมแดง ท่าน
จัดพิมพ์ตำรา แม่ครัวหัวป่าก์เป็นตำราอาหารคาวหวานทั้งไทยและเทศเล่มแรกของไทย
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
ท่านพัฒนาการศึกษาของสตรีในภาคใต้โดย
การก่อตั้งโรงเรียนสตรีที่สงขลาและตรัง สมัยรัชกาลที่ ๖ ท่านทำหน้าที่นางสนองพระโอษฐ์ในสมเด็จพระพันปีหลวงและร่วมก่อตั้งโรงเรียนเบญจมราชูทิศ
คุณหญิงแร่ม พรหโมบล คุณหญิงสุภัทรา สิงหลกะ
ท่านมีบทบาทใน
การเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียมบุรุษ
หม่อมหลวงบุปผา (กุญชร) นิมมานเหมินท์
เจ้าของนามปากกา
ดอกไม้สด ผลงาน คือ การเขียนนวนิยายที่สะท้อนสภาพสังคมไทยในยุคนั้น
หม่อมหลวงบุญเหลือ (กุญชร) เทพยสุวรรณ
บทบาทส าคัญด้าน
การศึกษา โดยเฉพาะภาษาศาสตร์และงานวิจัยเกี่ยวกับตระกูลภาษาไทย วรรณคดีไทยและวิธีการสอน
หม่อมหลวงพวงร้อย (สนิทวงศ์) อภัยวงศ์
ท่านมีความโดดเด่นด้าน
ดนตรีและได้ประพันธ์บทเพลงกว่า ๑๒๐ เพลงเพลงที่เป็นอมตะ คือเพลงบัวขาว เงาไม้
บทบาทสตรีในประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานถึง
สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
ด้านการปกครอง
พระนางจามเทวี
ปฐมกษัตริย์แห่งหริภุญชัย
ทรงอุปถัมภ์ทำนุบำรุงกิจการทางพระพุทธศาสนา
พระนางมหาเทวีสุโขทัย
พระนางปกครองสุโขทัยในระหว่างที่
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไทย) ไปปกครองเมืองสระหลวงสองแคว
พระมหาเทวีล้านนา
มหาเทวีโลกจุลกะเทวี
ทรงผลักดันให้พระราชโอรสขึ้นเป็นกษัตริย์
ปกครองเมืองเชียงใหม่
พระมหาเทวีชนนีของพระเจ้าติโลกราช
พระนางคุมกองทัพรบกับ
เมืองแพร่
พระมหาเทวีจิรประภา
ขึ้นปกครองเมืองเชียงใหม่ และนำพาบ้านเมืองให้พ้นจากปัญหา โดยเฉพาะครั้งที่สมเด็จพระไชยราชาธิราช นำกองทัพจากกรุงศรีอยุธยามารุกราน
พระมหาเทวีวิสุทธิเทวี
พระเจ้าหงสาวดีบุเรงนอง สถาปนาพระนางเป็น
กษัตริย์ปกครองเชียงใหม่
นางพระยาแม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้า พระราชโอรสที่เป็นยุวกษัตริย์ภายหลังพระนางขึ้นปกครองคู่กับขุนวรวงศาธิราช
กรมหลวงโยธาเทพ(เจ้าฟ้าศรีสุพรรณ)
ทรงเป็นเจ้านายทรงกรมสามารถจัดเก็บส่วยอากรขนอนตลาด มีเลกสมสังกัด มีกองทหารและทหารสังกัดในพระองค์ พระองค์มีอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดูแลราชสำนักฝ่ายใน
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เมื่อ
รัชกาลที่ ๙ เสด็จทรงผนวช
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ
ทรงดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินขณะรัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสยุโรป พ.ศ.๒๔๔๐
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ทรงด ารงต าแหน่งเมื่อคราวพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรเสด็จเยือนต่างประเทศ
ด้านการรบและการทำสงคราม
สมเด็จพระสุริโยทัย
ทรงเสด็จพระสวามีในการป้องกันบ้านเมืองจาก
ศึกพม่า จนถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าวสิ้นพระชนม์
เจ้าศรีอโนชา
ทรงรวบรวมบริวารปกป้องครอบครัว และช่วยเหลือ
พระยาสุริยอภัย ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี
ท้าวเทพกระษัตรี และท้าวศรีสุนทร
นำประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตี
เมืองถลางในคราวสงครามเก้าทัพ จนได้รับชัยชนะ
ท้าวสุรนารี
วางแผนและต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์
ในสมัยรัชกาลที่ ๓
ด้านการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
พระวิสุทธิกษัตริย์
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชทานให้แก่
ขุนพิเรนทรเทพ เพื่อสร้างความจงรักภักดีและความมั่นคงของบัลลังก์
พระเทพกษัตรีและพระแก้วฟ้า
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิพระราชทาน
ให้ไปอภิเษกกับสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราช พระเจ้ากรุงล้านช้าง
พระสุพรรณกัลยา
สมเด็จพระมหาธรรมราชายกให้พระเจ้า
กรุงหงสาวดีบุเรงนอง
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
เจ้าฟ้าพินทวดี
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศทรงรอบรู้และเชี่ยวชาญในขนบธรรมเนียมโบราณราชประเพณี ทรงจัดทำตำราโบราณราชประเพณี
พระองค์เจ้าบุตรี(พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวง
วรเสรฐสุดา)
พระราชธิดาในรัชกาลที่ ๓ ทรงรอบรู้
วิชาการต่างๆเช่น ตำนาน โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
ทรงนิพนธ์หนังสือและบทร้อยกรอง
ด้านวรรณกรรม
สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมหลวงนรินทรเทวี (กุ)
ทรงนิพนธ์จดหมายเหตุ
ความทรงจำบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ตั้งแต่กรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ.๒๓๑๐ ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์บทละครดาหลัง และอิเหนา
โดยนาโครงเรื่องของชวามาดัดแปลงใหม่
พระองค์เจ้ามณฑาและพระองค์เจ้าอุบล
นิพนธ์กุมารค าฉันท์ สมเด็จ
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ รับสั่งถึงหนังสือเล่มนี้ว่าเป็นตัวอย่างที่แสดงว่า สตรีไทยมีการศึกษาที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณ
คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง) และคุณสุวรรณ
กวีหญิงในรัชกาลที่ ๓
ผลงานของท่านได้แก่ เพลงยาวบวงสรวงสระน้ำที่บางโขมดอุณรุทร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ
ด้านศาสนา
สตรีสูงศักดิ์ของไทยนับแต่สมัยสุโขทัย มีความศรัทธาเลื่อมใส
ในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่งจะสละพระราชทรัพย์เพื่อก่อสร้างและ
ปฏิสังขรณ์ พระอาราม พระพุทธรูปและทำนุบำรุงพระภิกษุเป็น
ประจำ นอกจากนี้ยังมีการกัลปนาข้าคนให้เป็นเลกวัดเพื่อช่วยปฏิบัติ
กิจต่างๆ ให้แก่พระภิกษุและพระอารามทั้งปวง