Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการของตารางธาตุ, เฮนรี่ โมสลีย์, เสนอกฎพีริออดิก กล่าวว่า "…
-
-
เสนอกฎพีริออดิก กล่าวว่า "ถ้าเรียงธาตุตามมวลอะตอมจากน้อย ไปหามาก จะพบว่าธาตุจะมีสมบัติคล้ายกันเป็น ช่วงๆ" โดยจัดให้ธาตุที่มีสมบัติคล้ายครึงกันอยู่ในหมู่เดียวกันโดยเรียง อะตอมจากน้อยไปมากและเว้นช่องว่างไว้เมื่อพบว่ามีธาตุที่มีสมบัติไม่สอดคล้องที่จะอยู่ในหมู่เดียวกัน
-
-
ในปี ค.ศ. 1869 ดมีตรี อิวาโนวิช เมนเดเลเยฟ และ ยูลิอุส โลทาร์ ไมเออร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวรัสเซีย ได้เสนอตารางธาตุ โดยที่ทั้งสองสังเกตเห็นว่า ถ้าเรียงมวลอะตอมจากน้อยไปมาก จะพบว่าธาตุมีสมบัติคล้ายคลึงกันเป็นช่วง ๆ ซึ่งเมนเดเลเยฟได้ตั้งเป็นกฎพิริออดิก อย่างไรก็ตาม เพื่อเป็นเกียรติแก่เมนเดเลเยฟ จึงได้ตั้งชื่อตารางธาตุของเมนเดเลเยฟว่าตารางพิริออดิกของเมนเดเลเยฟ
เมนเดเลเยฟได้จัดธาตุเป็น 8 กลุ่ม เช่น กลุ่มที่ 1 มีสูตรทางเคมีว่า R2O เช่น H2O Li2O Na2O กลุ่มที่ 2 มีสูตรทางเคมีว่า RO เช่น BeO MgO CaO SrO เป็นต้น
จอห์น นิวแลนด์ ได้ตั้งกฎแห่งแปด
โดยเรียงจากธาตุตามแนวนอน 5คาบแต่
ละคาบบรรจุ7คาบ ธาตุ8 มีสมบัติคล้ายกับธาตุ1จึงจัดธาตุ8ไว้เป็นธาตุถัดไป ไม่รวมกับธาตุHแก๊สมีสกุลโดยจัดธาตุเป็นช่วงๆตามมวลอะตอม จากน้อยไปมากตามแนวนอน
-
เเต่แนวคิดนี้อธิบายได้ดีสำหรับ20ธาตุเเรกในตารางธาตุเท่านั้นซึ่งมีมวลน้อยส่วนที่มีมวลมากขึ้นไปไม่ค่อยเป็นไปตามกฎแห่งแปดเเละการจัดเรียงแบบนี้ไม่สามารถบอกได้ว่ามวลอะตอมกับสมบัติที่คล้ายคลึงกันของธาตุสัมพันธ์กันอย่างไร
-
ในปี พ.ศ. 2407 (ค.ศ. 1864) จอห์น นิวแลนด์ (John Newlands) นักเคมีชาวอังกฤษได้พบว่าเมื่อนำธาตุต่าง ๆ มาเรียงลำดับตามมวลอะตอมจากน้อยไปหามาก ให้เป็นแถวตามแนวนอน สมบัติของธาตุจะมีลักษณะคล้ายกันเป็นช่วง ๆ ซึ่งลักษณะดังกล่าวเกิดขึ้นทุก ๆ ของธาตุที่ 8
กลุ่มธาตุ Li, Na, K พบว่า
- Li มีมวลอะตอมเท่ากับ 7
- K มีมวลอะตอมเท่ากับ 39
ดังนั้น Na จึงมีมวลอะตอมเท่ากับ 23 (ค่ามวลเฉลี่ยระหว่าง Li และ K)
มวลอะตอมของ Na = (6.9+39.1)/2
-
การจัดตารางธาตุนั้นเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2360 (ค.ศ. 1817) โดย โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ (Johaun Dobereiner) นักเคมีชาวเยอรมัน ได้นำธาตุต่าง ๆ ที่พบในขณะนั้นมาจัดเรียงเป็นตารางธาตุ
โดยนำธาตุต่าง ๆ ที่มีสมบัติคล้ายคลึงกันมาจัดไว้ในหมู่เดียวกัน หมู่ละ 3 ธาตุ เรียงตามมวลอะตอมจากน้อยไปมากในแต่ละหมู่ มวลอะตอมของธาตุที่อยู่กลางจะเป็นค่าเฉลี่ยของมวลอะตอมของธาตุที่เหลืออีก 2 อะตอม เรียกว่ากฎชุดสาม (law of triads หรือ Dobereine’ s law of triads)
โยฮันน์ เดอเบอไรเนอร์ เป็นนักเคมีคนแรกที่พยายามจัดธาตุเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 3 ธาตุ ตามสมบัติที่คล้ายคลึงกัน เรียกว่า “ชุดสาม”
-
-
-
-
-
-
Group
3.1นางสาวซามีฮาห์ แก้วโชติ
3.1นางสาวนิอัซนีย์ เจ๊ะมูซอ
3.1นายสาวอนิสอาซีลา ดอเลาะ
3.2นางสาวโรสนีต้า บูละ
3.2นางสาวดลญามิลมี จิยี่งอ
3.2นางสาววิภารัตน์ สุขจันทร์
3.3นางสาวนูรีซา ดอเล๊าะ
3.3นางสาวนิสริน นรารักษ์
3.4นายชามิล วาเด็งพงศ์
3.4นายซิดดิ๊ก จิยี่งอ
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-