Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3: :แนวคิด หลักการสาธารณสุข และหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน ::<3: -…
:<3: :แนวคิด หลักการสาธารณสุข
และหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน ::<3:
ความหมายของสาธารณสุข
เป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะแห่งการป้องกัน
การทำให้อายุยืนยาว การส่งเสริมสุขภาพ
และความมีสมรรถนะ หรือ ประสิทธิภาพของบุคคล
สาธารณะสุข คือราชการส่วนกลาง
เกี่ยวกับอนามัยของประชาชน
การดูแลอภิบาลเพื่อให้ร่างกาย
และจิตใจมีสุขภาพและอนามัยที่ดีแก่ประชาชน
สถานการณ์และปัญหาสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพ
การบริโภคอาหาร
มีการซื้ออาหารสำเร็จรูป โดยไม่คำนึกถึงคุณค่าของโภชนาการ
การบริโภคยา
มีการซื้อยาตามคำแนะนำของญาติ เพื่อน และสื่อโฆษณา
การสูบบุหรี่
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
การใช้สารเสพติด
พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ปัญหาสุขภาพของชุมชนเมือง
โรคที่เกิดจากการทำงาน
โรคที่เกิดจากมิลพิษทางสิ่งแวดล้อม
โรคขาดสารอาหารในเด็ก
การบริโภคไม่เหมาะสม
การติดสารเสพติด
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เกี่ยวกับสุขภาพจิต
การเกิดอุบัติเหตุ
เกี่ยวกับสุขภิบาล
ปัญหาสุขภาพของชุมชนชนบท
การเกิดโรคภัยไข้เจ็บเนื่องจากการขาดความรู้ เกี่ยวกับการรักษาโรค
การเกิดภาวะทุพโภชนาการ หรือการขาดสารอาหาร
การอนามัยแม่และเด็ก และการวางแผลครอบครัว
สารพิษจากยาปราบศัตรูพืช
ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
Health determinants
บุคคล
ปัจจัยทางชีวภาพ
ถือเป็นปัจจัยพื้นฐาน
ที่ติดตัวมาตั้งแต่กำเนิดคือ พันธุกรรม
ที่แฝงตัวอยู่ในโครโมโซมของทุกคน
ปัจจัยด้านจิตใจ
เป็นตัวกำหนดการเกิดโรค
เนื่องจากปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการกระทำ
ปัจจัยด้านพฤติกรรม
เป็นสิ่งที่ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพ
พฤติกรรมนี้ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต
และ พฤติกรรมสุขภาพมีทั้งการเรียน การทำงาน การสื่อสาร สิ่งเหล่านี้ส่งผลต่อสุขภาพของบุคคลทั้งทางบวกและทางลบ
สิ่งแวดล้อม
:black_flag:สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ครอบคลุมสภาพแวดล้อมที่เป็นกายภาพทั้งหมด
:black_flag: สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ
เป็นสิ่งแวดล้อมที่มีชีวิต ซึ่งเปรียบได้กับ agent.
ในเชิงระบาดวิทยาที่มีผลต่อการเกิดโรค
:black_flag:สิ่งแวดล้อมด้านสังคม
ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น เกิดปัญหามลพิษ
ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพของบุคคล
ครอบครัวและชุมชน พฤติกรรมเป็นผลสืบเนื่องจากวัฒนธรรม
ระบบบริการสาธารณสุข
นโยบาย สิทธิ ความเท่าเทียมการจัดบริการสุขภาพ
ซึ่งส่งผลต่อการลดอัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้
โดยเฉพาะโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
และการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสถานการณ์ COVID-19
ปัญหาสุขภาพจิต
จากการสำรวจพบว่าปัญหาด้านสุขภาพจิตของคนไทยมีเพิ่มขึ้น แต่จำนวนผู้มารับบริการน้อยลง เนื่องจากหลีกเลี่ยงการไปโรงพยาบาลเพิ่มลดความเสี่ยงของโรคระบาด
มาตรการปิดเมือง กักตัวเพื่อลดการระบาด ส่งผลต่อสุขภาพติด
จากากรสำรวจพบว่าผู้ที่โดนกักตัวมีอาการผิดปกติทางจิตเพิ่มขึ้น แต่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการกักตัว ช่วยบรรเทาภาวะทางจิตจากการกักตัว หรือปิดเมืองได้
ปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นพร้อมกับความไม่แน่นอนที่มากขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจที่แย่ลง ความไม่แน่นอน และความวิตกกังวลมีผลต่อสุขภาพจิต และทำให้มีอัตราการตายที่เกี่ยวกับสุขภาพจิตเพิ่มขึ้น
สถานการณ์ด้านระบบสุขภาพ
การใช้เทคโนโลยีทางสุขภาพในยุคโลกาภิวัตน์
และการค้าเสรีระบบทุนนิยม
ทำให้เทคโนโลยีสุขภาพ
เข้ามาในประเทศอย่างอิสระ
นโยบายการพัฒนาประเทศและนโยบายการพัฒนา
สุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข
มุ่งเน้นการปฏิรูประบบสุขภาพ
เพื่อให้เกิดการสร้างสุขภาพเชิงรุกเน้นการเผยแพร่ให้ความรู้แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถดูแลสุขภาพได้
มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ป้องกันการเจ็บป่วย
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพลดลง
องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสุขภาพ
(Non-government organizations in health: NGOs)
องค์กรเหล่านี้สามารถระดมทุนและทรัพยากร
จากชุมชนเพื่อใช้ในงานสาธารณสุขเพิ่มขึ้น
การพัฒนาเทคโนโลยีในการตรวจวินิจฉัยโรค
ทำให้การตรวจวินิจฉัยโรคสามารถทำได้
อย่างถูกต้อง รวดเร็ว ด้วยต้นทุนที่ต่ำลง