Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการสาธารณสุขและหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการสาธารณสุขและหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน
ฐาน5 สาธารณสุขมูลฐาน
แนวคิด
แนวคิด6 สุขภาพอนามัยที่ดีสัมพันธ์กับฐานะความเป็นอยู่และการดำเนินชีวิต
แนวคิด7 ใช้เทคนิคและวิธีการง่ายๆ
แนวคิด5 ความร่วมมือของชุมชน คือ หัวใจของสาธารณสุขมูลฐาน
แนวคิด8 สอดคล้องและอาศัยประโยชน์จากระบบชีวิตประจำวันของชุมชน
แนวคิด4 หน้าที่และบทบาทของเจ้าหน้าที่รัฐ
แนวคิด9 มีความยืดหยุ่นในการแก้ปัญหาตามความเหมาะสม
แนวคิด3 ชุมชนรับรู้และทราบว่าปัญหาคืออะไรและร่วมกันพิจารณาหาทางแก้ไข
แนวคิด10 บริการสาธารณสุขที่ประชาชนสามารถดำเนินกสนได้เองในชุมชน
แนวคิด2 ชุมชนร่วมมือกันจัดการแก้ไขปัญหาที่เผชิญอยู่
แนวคิด11 ต้องเชื่อมโยงกับงานบริการสาธารณสุขของรัฐในด้านการให้การสนับสนุน
แนวคิด 1 เป็นระบบสาธารณสุขเพิ่มเติมในระดับตำบล หมู่บ้าน
องค์ประกอบของการสาธารณสุข
กิจกรรมด้านสุขศึกษา (Health Education : E)
กิจกรรมด้านการจัดหาน้ำสะอาดและการสุขาภิบาล (Water Supply anc Sanitation : W)
กิจกรรมด้านการเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น (Surveillance for Local Disease Control : S)
กิจกรรมด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Immunization : 1)
กิจกรรมด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Simple Treatment : T)
กิจกรรมด้านการจัดหายาที่จำเป็น (Essential Drug : E)
กิจกรรมด้านการอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว(Mother and Child Health & Family Planning : M)
กิจกรรมด้านสุขภาพจิต (Mental Health : M)
10.กิจกรรมด้านทันตสาธารณสุข (Dental Health : D)
11 . กิจกรรมด้านการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health : E)
12 . กิจกรรมด้านการป้องกันอุบัติเหตุ อุบัติภัย โรคไม่ติดต่อ (Injury : )
13.กิจกรรมด้านปัญหาเอดส์ (Aids : A)
1.กิจกรรมด้านโภชนาการ (Nutrition : N)
กิจกรรมด้านคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protection : C)
กลวิธีการดำเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน
การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม(Appropriate Technology : AT)
การปรับระบบบริการสาธารณสุขให้สอดคล้องกับสาธารณสุขมูลฐาน (Basic Health Service: BHS)
การมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Participation, Community Involvement : CP, CI)
การผสมผสานงานกับกระทรวงอื่น(Intersectoral Collaboration: IC)
ข้อบ่งชี้ความสำเร็จของงานสาธารณสุขมูลฐาน
เครื่องชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) สำหรับประเทศไทย
เครื่องชี้วัดในด้านสภาวะทางสาธารณสุข ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิต ใช้เครื่องชี้วัดเครื่องชี้วัด"ความจำเป็นพื้นฐานของคนไทย" เป็นเครื่องซี้วัด เนื่องจากการพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานของไทยส่วนหนึ่งของการพัฒนาสังคมดังนั้นจึงใช้เครื่องชี้วัดทางสังคมเป็นเครื่องชี้วัดสาธารณสุขมูลฐานไปด้วย
เครื่องชี้วัดสุขภาพดีถ้วนหน้าของประเทศไทย แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ
กลุ่มที่ 1 การบรรลุความจำเป็นพื้นฐานของคนไทยด้านสาธารณสุข
กลุ่มที่ 2. การพึ่งตนเอง โดยพิจารณาในประเด็นของการมีส่วนร่วมและการพึ่งตนเองของชุมชนเป็นหลัก ซึ่งจะพิจารณาในเรื่องของ
3ก. + 1ข. + 3ส.
1ข = ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสุขภาพอนามัยครบถ้วนและแสดงไว้ในศูนย์ฐานชุมชน
3ส = สอนที่หมู่บ้าน สอดส่องดูแลสุขภาพตนเอง ส่งต่อผู้ป่วยจากหมู่บ้าน
3ก = กำลังคนในชุมชน องค์กรที่มีอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมอยู่ด้วย กองทุน
กลุ่มที่ 3 การเข้าถึงบริการ โดยในชุมชนจะต้องมีการจัดบริการสาธารณสุขเบื้องต้นโดยชุมชนเอง
คลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster)
เวชศาสตร์ครอบครัว (family medicine.)
คุณสมบัติ
การเรียนรู้และการพัฒนาจากฐานการปฏิบัติ
วิชาชีพนิยม คือ การคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวมและจริยธรรมทางการแพทย์ มีคุณธรรมและเจตคติอันดีต่อผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย ผู้ร่วมงาน ผู้ร่วมวิชาชีพและชุมชน
ทักษะระหว่างบุคคลและการสื่อสารโดยยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (patient-centered care)และดูแลแบบองค์รวม (holistic care) การมีมนุษย์สัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้อื่น
การทำเวชปฏิบัติให้สอดคล้องกับระบบสุขภาพของประเทศ การจัดบริการปฐมภูมิบนพื้นฐานความปลอดภัยของผู้ป่วย การใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม และสามารถทำหน้าที่เป็นแหล่งข้อมูลให้กับประชาชน
ความรู้และทักษะหัตถการทางเวชกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์พื้นฐานของร่างกายและจิตใจการดูแลมุ่งเน้นครอบครัวและชุมชน
การบริบาลผู้ป่วย เป็นการบริบาลระดับปฐมภูมิ การดูแลครอบคลุมการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสุขภาพและประคับประคอง การดูแลผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในรวมถึงการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
หลักการเวชศาสตร์ครอบครัวของประเทศไทย (Principles of family medicine of Thailand)
ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์ ผู้ป่วยและครอบครัว (Doctor-patient-family relationship)
การให้บริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพกับประชากรทุกช่วงอายุ(High quality primary care for all age groups)
2.1 บริการด่านหน้า (First contact care)
2.2 การดูแลต่อเนื่อง (Continuity of care)
2.3 การดูแลแบบครอบคลุม (Comprehensive care) ดูแลผสมผสานทุกปัญหา ร่วมกับการคัดกรองรักษาโรค สร้างเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสภาพ
2.4 การดูแลแบบเชื่อมประสาน (Coordinating care) จะเกิดขึ้นได้ต้องมีการทำงานร่วมกันเป็นทีมหมายถึง การรวมกันของหน่วยงานต่าง ๆ ในทีมสุขภาพ ได้แก่ บุคลากรทางสาธารณสุขทีมการรักษาพยาบาล องค์กรสาธารณสุข เป็นต้น
การทำเวชปฏิบัติที่ใช้ชุมชนและประชากรเป็นฐาน(Community and population-based practice)
3.1 ปัญหาสุขภาพและความจำเป็นด้านสุขภาพของชุมชน(Health problem and needs in community)
3.2 การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน (People participation)
3.3 การเป็นแหล่งข้อมูลให้กับประชากรที่กำหนด(Resource person of an identified population)
ฐาน 4 ระบบบริการสุขภาพ
บริการสุขภาพเเบ่งตามระดับการให้บริการ
การจัดบริการสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ (Primary Care Level) การจัดการด้านการเเพทย์และสาธารณสุขโดยเจ้าหน้าที่ ที่ใกล้ชิดกับประชาชน เน้นการผสมผสาน ป้องกัน ฟื้นฟู
การจัดบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ (Secondary Care Level) จัดบริการโดยใช้เทคโนโลยีที่สูงขึ้น เน้นรักษาโรคที่ยาก ซับซ้อน เป็นที่รับส่งผู้ป่วยจากรพสต.
การบริการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care Level)เป็นการจัดการภายใจ้การดูเเลของรัฐ ซึ่งมี อสม เป็นผู้ให้บริการคอยประชาสัมพันธ์ข่าวสาร
การดูแลสุขภาพด้วยตนเองในระดับครอบครัว (Self Care Level) เน้นให้ประชาชนดูแล และตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องทางสุขอนามัยด้วยตนเองได้
การจัดบริการสาธารณสุขระดับตติยภูมิและเฉพาะทาง (Tertiary Care Level and Excellence center) เป็นบริการที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ซับซ้อนมาก มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางได้เเก่โรงพยาบาลศูนย์ สถาบันทางการเเพทย์
แผนพัฒนาระบบสุขภาพ (Service)
การพัฒนาเครือข่ายบริหารระดับจังหวัด(Provincial Health Service Network) มีเครือข่ายระดับจังหวัด สามารถรองรับการส่งต่อได้อย่างสมบูรณ์
การจัดระดับโรงพยาบาลรับผู้ป่วยส่งต่อ (Referral Hospital Cascade) มีโรงพยาบาลรับผู้ป่วยส่งต่อในระบบบริการเป็น 4 ระบบ คือ สูง กลาง ต้น และปฐมภูมิ เพื่อใช้ทรัพยาการให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ (Seamless Health Service Network) เป็นการจัดระบบบริการสุขภาพในรูปแบบเครือข่ายเเทนการขยายโรงพยาบาลเป็นที่ๆ
ทิศทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมือง ให้มีความสามารถระดับเเพทย์เวชปฏิบัติ ครอบครัว เเพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป เพื่อรองรับการเติบโตของชุมชนเมืองเเละผู้สูงอายุที่จะเพิ่มขึ้น
การพัฒนาศูนย์ความเชี่ยวชาญ ระดับ 5 สาขา ได้เเก่ มะเร็ง หัวใจ อุบัติเหตุ ทารกเเรกเกิด และการบริจาคปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อรองรับการส่งต่อผู้ป่วยที่มีความซับซ้อน ที่ใช้เทคโนโลบีระดับสูง และพัฒนาโรงพยาบาลระดับต่างๆให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบเขือข่ายสุขภาพ
หน่วยบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ
ลักษณะสำคัญ
3.เน้นให้การรักษาเชิงรุก เพื่อเสริมสร้างสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วย
4.ให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างต่อเนื่อง ทุกระยะการรักษาตามความเหมาะสม
2.เป็นบริการสุขภาพที่ประชาชนเข้าถึงง่าย
5.เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประสานกับหน่วยบริการอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้บริการได้อย่างครอบคลุมเเละต้องกับความต้องการของผู้ใช้บริการ
1.เป็นบริการสุขภาพที่ผสมผสานทั้งด้านสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วย โรค การรักษาพยาบาล และฟื้นฟู
เป็นกลไกที่เพิ่มศักยภาพการจัดบริการโดยการเอาประกันสุขภาพเข้ามามีบทบาทเพื่อที่จะสามารถตอบสนองความต้องการขิงประชาชนได้อย่างเเท้จริง
ฐาน 2 การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
ปัญหาและอุปสรรค์ในการกระจายอำนาจ
การขาดความรู้ความเข้าใจในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประสานงาน
การถ่ายโอนภาระกิจปัญหาด้านกฎระเบียบต่างๆ
ระเบียบเงินบำรุงของสถานีอนามัยไม่ตรงกับระเบียบเงินบำรุงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความล่าช้าของการโอนเงินเดือนและค่าตอบแทนสิทธิประโยชน์และสวัสดิการของข้าราชการ
ระเบียบงานของบุคลากรข้าราชการังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความแตกต่างกับข้าราชการสถานีอนามัยกระทรวงสาธารณสุข
บุคลากรสถานีอนามัยเป็นไปตามระบบแท่งในขณะที่ข้าราชการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นไปตามระบบC
Thailand 4.0 ด้านสาธารณสุข
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2559-2579)
ระบบสุขภาพยั่งยืน
ประชาชนมีระบบสุขภาพแบบองค์รวมเป็นธรรมยุทธศาสตร์ 4 EXCELLENCE
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนทุกกลุ่ม
ยุทศาสตร์ความสามารถในการแข่งขัน
สร้างความเป็นเลิศทางการแพทย์ จัดระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ยุทศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรเป็นเลิศ
แก้ปัญหาการคลาดแคลนกำลังคน พัฒนาเครือข่ายบุคลากรด้านสุขภาพ
ยุทศาสตร์การพัฒนาการบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
สร้างต้นแบบองค์กรคุณธรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
เจ้าหน้าที่มีความสุข
บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้รับความเก้าหน้ามีความสุขในการทำงาน
ประชาชนสุขภาพดี
มีค่าเฉลี่ยอายุมากกว่า 87 ปี
การกำหนดยุทศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีของสาธารณสุข
ระยะที่1 ปฏิรูประบบสุขภาพ(2560-2564)
เน้นเรื่องการปรับระบบบริหารจัดการ
ระยะที่2 การสร้างความเข้มแข็ง(2565-2569)
เน้นเรื่องการจัดการโครงการพื้นฐานกำลังคน รวมทั้งการป้องกันควบคุมโรค
ระยะที่3 ความยั่งยืน(2570-2574)
เน้นระบบสุขภาพของไทยต้องมีความยั่งยืนทางด้านการเงินสามารถพึ่งพาตนเองได้
ระยะที่4 (2575-2579)
ประเทศไทยจะมีระบบสุขภาพที่ทันสมัยเทียบเคียงนานาชาติได้
ยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพในยุคThailand 4.0
พัฒนาระบบและกลไกการขับเคลื่อนอย่างมีเอกภาพและประสิทธิภาพตามความต้องการของประชาชน
ผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ
บริหารกำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สร้างเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพให้เข้มแข็งและยั่นยืน
การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
ความเป็นมาของการกระจายอำนาจ
การถ่ายโอนหน้าที่ความรับผิดชอบขององค์กรส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดจากระดับสูงไปสู่ระดับต่ำ มีแนวคิด 3 ด้าน คือ
ด้านอิสระภาพการกำหนดนโยบายการบริหารแบบรัฐเดี่ยวและความเป็นเอกภาพของประเทศที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน และการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นโดยปรับบทบาทให้ส่วนท้องถิ่นมารับผิดชอบการบริหารราชการแทนส่วนกลาง
ด้านประสิทธิภาพการบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขที่ดีขึ้น
สถานการณ์การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
รูปแบบที่ 1 ถ่ายโอนอนามัยและบุคลากรมาทั้งหมด
รูปแบบที่ 2 ถ่ายโอนอนามัยมาทั้งหมด แต่บุคลากรมาบางส่วน
รูปแบบที่ 3 ถ่ายโอนอนามัยมาเพียงบางส่วน แต่บุคลากรมาทั้งหมด
รูปแบบที่ 4 ถ่ายโอนอนามัยและบุคลากรมาเพียงบางส่วน
เกณฑ์ประเมินความพร้อมด้านการจัดการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประสบการณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดหรือมีส่วนร่วมด้านสาธารณสุข
ด้านแผนการเตรียมความพร้อมในการจัดการด้านสาธารณสุข
วิธีการบริหารและจัดการด้านสาธารณสุข
การจัดสรรงบประมาณเพื่อการสาธารณสุข
ความเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อความพร้อมในการจัดการด้านสาธารณสุข
ทางออกสำหรับปัญหาและอุปสรรค์
ทำความเข้าใจประเด็นการกระจายอำนาจในรูปแบบการถ่ายโอนอนามัยต้องเกิดในทุกระดับ
ควรมีศูนย์บริหารจัดการถ่ายโอนระดับจังหวัด
ต้องมีระบบสนับสนุนดำเนิดการและหลังจากโอนอนามัยให้แก่องค์กรปกครอง
คณะกรรมการระดับพื้นที่จะทำให้กระบวนการบริหารจัดการควบคุมการติดตามเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในส่วนของการบริหารจัดการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควรมีคณะกรรมจากกระทรวงสาธารณสุข องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในจำนวณที่เท่ากัน
ประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่จะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากการถ่ายโอนอย่างเต็มที่
มีแนวคิดจากนักวิชาการกลุ่มหนึ่งที่เสนอให้พิจารณาการปรับเปลี่ยนรูปแบบการกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
ฐาน 3 พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติและการคุ้มครองผู้บริโภค
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
กฎหมายสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550เกิดจากแนวคิดการปฏิรูปสุขภาพของคนไทย ความคิดในการยกร่างกฎหมายมีมาตั้งแต่ พ.ศ.2543 แต่พบกับอุปสรรคจากภาครัฐ จึงได้ประกาศใช้วันที่19 มีนาคม พ.ศ.2550
คำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพตามมาตรา3
สุขภาพ หมายถึง ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย จิตใจ ปัญญาและสังคมของบุคคล
ระบบสุขภาพ คือ ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข คือ การบริการต่างๆที่เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การควบคุมโรคและปัจจัยคุมคามสุขภาพ ตรวจวินิจฉัยและบำบัดความเจ็บปวด รวมทั้งฟื้นฟูสภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
สิทธิและหน้าที่เพื่อสุขภาพ
กฎหมายสุขภาพแห่งชาติบัญญัติให้ประชาชนชาวไทยมีสิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
1.บุคคลมีสิทธิและหน้าที่ในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (มาตรา7)
2.สตรีต้องได้รับการเสริมสร้างและคุ้มครองสุขภาพทางเพศและระบบเจริญพันธุ์ที่มีความซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพเพศหญิง(มาตรา6(1))
3.สุขภาพของเด็ก คนพิการ และผู้สูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มต่างๆต้องได้รับการสริมสร้างและคุ้มครองอย่างเหมาะสม(มาตรา6(2))
4.ผู้ใดนำข้อมูลด้านสุขภาพของผู้อื่นไปเปิดเผย ทำให้ผู้อื่นเสียหายย่อมมีความผิดทั้งนี้ไม่สามารถอาศัยอำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอเอกสารเกี่ยกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลอื่น เว้นแต่บุคคลยินยอมหรือมีกฎหมายบัญญัติให้เปิดเผย(มาตรา7 ฝ่าฝืนระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6เดือนหรือปรับไม่เกิน10000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ)(มาตรา 49)
5.บุคลากรต้องแจ้งข้อมูลด้านสุขภาพที่เกี่ยวกับการให้บริการแก่ผู้ใช้บริการอย่างเพียงพอ เพื่อใช้ในการตัดสินใจว่าจะรับบริการหรือไม่รับบริการ(มาตรา8(1))
6.ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะให้ผู้ใช้บริการเป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยต้องแจ้งให้ผู้ใช้บริการทราบล่วงหน้าและต้องได้รับความยินยิมเป็นหนังสือก่อนจึงจะดำเนินการได้ ความยิยยอมดังกล่าวผู้ใช้บริการยกเลิกได้ทุกเมื่อ(มาตรา 49)
7.เมื่อเกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนหน่วยงานของรัฐที่มีข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าวต้องเปิดเผยข้อมูลและวิธีป้องกันให้แก่ประชาชน(มาตรา10(1))โดยต้องไม่ละเลยสิทธิส่วนบุคคล(10(2))
8.บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องให้มีการประเมินและร่วมในกระบวนการประเมินผลด้ารสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ(11(1)) รวมทั้งมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจงและเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐก่อนการอนุญาติดำเนินโครงการหรือกิจกกรมที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือชุมชน(11(2))
9.บุคคลมีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์จะรับบริการสาธารณสุขที่เพียงเพื่อยืดการตายในระยะสุดท้ายของชีวิตหรือเพื่อยุติการทรมานจากการเจ็บป่วย(12(1))
ลักษณะวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
1.สะดวก คือผู้เสียหายหรือโจทก์สามารถเสนอคำฟ้องด้วยวาจาหรือเป็นหนังสือในกรณีที่ฟ้องด้วยวาจาเจ้าพนักงานคดีการบันทึกรายละเอียดแห่งคำฟ้องและโจทก์ต้องลงลายมือชื่อไว้เป็นสำคัญทั้งนี้คำฟ้องต้องมีข้อเท็จจริงที่เป็นเหตุแห่งการฟ้องคดีและคำขอบังคับชัดเจน
2.รวดเร็ว เมื่อศาลรับคำฟ้อง ศาลต้องนัดพิจารณาคดีไม่เกิน30วัน เพื่อไกล่เกลี่ยคดี
3.ประหยัด โดยคู่ความจะเสียค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีเล็กน้อยจึงช่วยให้ประหยัดเนื่องจากผู้บริโภคหรือผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทน ผู้บริโภคจะได้รับการยกเว้นค่าฤชาเธียมนิยมพยาบาลวิชาชีพที่ถูกต้องที่ถูกฟ้องร้องจากผู้เสียหายสามารถใหห้การด้วยวาจาหรือส่งพยานหลักฐานเป็นหนังสือต่อศาลในวันพิจารณาคดี โดยไม่ต้องจ้างทนายความได้
อายุความ
เมื่อเกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพอนามัยโดยผลของสารที่อยู่ในร่างกายผู้บริโภคต้องใช้เวลาในการแสดงอาการหรือผู้มีอำนาจฟ้องคดีแทนผู้บริโภค
ต้องใช้สิทธิเรียกร้องภายใน3ปี นับตั้งแต่วันที่รู้ถึงความเสียหายหรือผู้กระทำความผิด ต้องไม่เกิน10ปี ตั้งแต่วันที่รู้(มาตรา13)
ถ้ามีการเจรจาค่าเสียหายเพื่อประณีประนอมจะทำให้อายุความหยุดลง(มาตรา14)
การสืบพยานและการพิพากษา
การวินิจฉัยคดีผู้บริโภคต้องพิจารณาทั้งปัญหาข้อท็จจริงและข้อกฎหมาย ตามประเด็นคำฟ้องและคำให้การรวมถึงพยานหลักฐานต่างๆที่เกี่ยวกับปัญหาข้อเท็จจริงเพื่อนำไปกำหนดประเด็นข้อพิพาทให้คู่ความทราบและกำหนดให้คู่ความฝ่ายใดนำพยานสืบก่อนหลัง(มาตรา32)โดยสืบพยานตามมาตราที่29-38
คำพิพากษาและคำสั่งชี้ขาดตัดสินคดีต้องแสดงข้อเท็จจริงที่ฟังได้โดยสรุปและคำวินิจฉัยในประเด็นแห่งคดี พร้อมเหตุผล(มาตรา38)โดยคำพิพากษาระบุตามมาตรา39-44
ฐานที่ 7 มิติการให้บริการชุมชน
มิติการให้บริการของพยาบาลชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health Promotion) เป็นการกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพและจัดการสิ่งเเวดล้อมที่เอื้อต่อการดูเเลสุขภาพ
การป้องกันโรค(Disease prevention) เสริมภูมิคุ้มกัน สร้างสุขนิสัย เฝ้าติดตามสถานการณ์
การให้บริการตรวจรักษาโรคเบื้องต้นและการดูแลสุขภาพต่อเนื่องในหน่วยบริการปฐมภูมิ บริการการตรวจวินิจฉัย โดยเฉพาะโรคที่เกิดบ่อยในชุมชน
การให้บริการฟื้นฟูสุขภาพของผู้รับบริการ ช่วยให้ผู้รับบริการฟื้นฟูสภาพจิตใจกลับคืนสู่สภาพปกติ เื่อให้ผู้รับบริการสามารถดำเนินชีวิตได้ในสังคมอย่างปกติ
บทบาทพยาบาลอนามัยชุมชน
บทบาทเป็นผู้บริหารจัดการ (Manager toile) จัดกิจกรรมต่างๆในการดูแลสุขภาพทุกระดับในกระบวนการบริหารจัดการเหมือนขั้นตอนการพยาบาล
บทบาทผู้พิทักษ์ผลประโยชน์ของผู้ใช้บริการ
เพื่อช่วยให้ผู้ใช้บริการได้รับสิทธิในการรักษาพยาบาลโดยสามารถตัดสินใจในการรับการรักษาด้วยตนเองอย่างอิสระ
เพื่อช่วยทำให้ระบบบริการเป็นระบบที่รับผิดชอบต่อสุขภาพประชาชนและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการซึ่งพยาบาลจะต้องมีทักษะกล้ายืนยันสิ่งที่ถูกต้อง (Assertive) รับความเสี่ยง (Taking naks) การสื่อสารและการเจรจาต่อรอง (Communicating and negotiating) และสามารถระบุแหล่งประโยชน์สุขภาพและผลลัพธ์
บทบาทผู้ให้ความรู้(Educator role) ให้ความรู้ สอนสุขภาพ เลือกรูปแบบให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย
บทบาทผู้ให้บริการหรือผู้ดูแล(Clinical role Care Provider) เน้นการส่งเสริมสุขภาพและการเพิ่มพูนทักษะต่างๆ ออกแบบให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ
บทบาทของผู้ประสานความร่วมมือ(Collaborator role and Co-ordinatorrole): UMUT ด้านนี้มีความสำคัญมากเนื่องจากพยาบาลอนามัยชุมชนต้องทำงานร่วมกับบุคคลหลายภาคส่วน
บทบาทผู้นำ(leadership role) อนามัยชุมชนต้องเป็นผู้นำให้เกิดความเปลี่ยนแปลงริเริ่มการดำเนินการกระตุ้นและชักจงให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสุขภาพของประชาชนผู้นำที่ดีต้องมีวิสัยทัศน์เพื่อช่วยพัฒนาความสามารถประชาชนและนำประชาชนไปสู่เป้าหมายที่วางไว้
บทบาทนักวิจัยหรือร่วมทำการ์วิจัย(Researcher role) บทบาทด้านนี้พยาบาลอนามัยชุมชนต้องมีทักษาในการทำวิจัยมีความรู้ในระเบียบวิธีวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนำความรู้ใหม่ใหม่นั้นมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาลชุมชนและปรับปรุงคุณภาพการบริการ
การทำงานภาคสนาม
การปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงสาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนประกอบด้วย
มีความสามารถในการพัฒนาจัดการและกำกับระบบการดูแลบูคคลกลุ่มคนครอบครัวและชุมชนด้านการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคการรักษาโรคเบื้องต้นและการฟื้นฟูสภาพ
มีความสามารถ ในการดูแลและให้การพยาบาลกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรังผู้พิการวัยรุ่นผู้สูงอายุมารดาและทารกและกลุ่มอื่นในชุมชนที่มีปัญหาชับซ้อน (Direct Care)
มีความสามารถในการประสานงาน (Collaboration)
มีความสามารถในการเสริมสร้างพลังอำนาจ (empowering) การสอน (educating) การฝึก (coaching) การเป็นพี่เลี้ยงในการปฏิบัติ(mentoring)
มีความสามารถในการให้คำปรึกษาด้านการดูแลบุคคลครอบครัวกลุ่มคนและชุมชน (consultation)
6.มีความสามารถในการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Change Agent)
มีความสามารถในการให้เหตุผลทางจริยธรรมและการตัดสินใจเชิงจริยธรรม (Ethicalreasoning and ethical decision making)
8.มีความสามารถในการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-BasedPractice)
9.มีความสามารถในการจัดการและประเมินผลลัพธ์ (Outcomemanagement and evaluation)
ฐาน1 แนวคิดและหลักการสาธารณสุขและหลักการพยาบาลอนามัยชุมชน
ความหมายของสาธารณสุข
ดร.วินสโลว์ แห่งมหาวิทยาลัยเยลประเทศสหรัฐอเมริกานายแพทย์
กล่าวว่า การสาธารณสุขเป็นวิทยาศาสตร์และศิลปะแห่งการป้องกันโรค (PreventingDisease) การทำให้อายุยืนยาว (Prolonging Life) การส่งเสริมสุขภาพ (PromotingHealth) และความมีสมรรถนะประสิทธิภาพ (Efficiency)ของบุคคลด้วยความร่วมมือของชุมชนในการทำกิจกรรม
ทำกิจกรรม 5ประการเพื่อความมีสุขภาพและความยืนยาวของชีวิต
การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
การควบคุมป้องกันโรคติดต่อ
การให้ความรู้ด้านสุขวิทยาส่วนบุคคล
4.การจัดองค์กรเกี่ยวกับบริการทางการแพทย์และการพยาบาลเพื่อการวินิจฉัยโรคได้อย่างรวดเร็วในระยะแรกเริ่มและป้องกันมิให้โรคแพร่กระจายออกไป
การพัฒนากลไกสังคมเพื่อให้ทุกคนมีมาตรฐานการครองชีพที่เหมาะสมเพียงพอที่จะดำรงไว้ซึ่งสุขภาพ
เซฟส์ ( Sheps , 1976 ,) กล่าวว่า การสาธารณสุขคือการผสมผสานทางด้านวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติที่การสาธารณสุขคือการผสมผสานทางด้านวิทยาศาสตร์และทักษะการปฏิบัติที่ทั้งนี้โดยการจัดการของสังคมให้มีกิจกรรมต่างๆสำหรับกิจกรรมในการสาธารณสุขนั้นอาจเปลี่ยนแปลงเพื่อให้สอดคล้องกับปัญหาความต้องการทางด้านสุขภาพของประชาชนเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงและค่านิยมทางสังคม
ปัจจัยกำหนดสุขภาพ Health determinants
ระบบบริการสาธารณสุข
เกี่ยวข้องกับโครงสร้างสังคม นโยบาย สิทธิ
ความเท่าเทียมการจัดบริการสุขภาพที่ครอบคลุม
ทั้งสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพและสังคม
ด้านสังคมค่านิยมบรรทัดฐาน
ความเชื่อ ทัศนคติ วิถีปฏิบัติและความเหลื่อมล้ำทางสังคม
ด้านกายภาพ เช่น ที่อยู่อาศัย การจราจร สวนสาธารณะ
ด้านชีวภาพ เชื้อโรค สัตว์ มนุษย์ ผักและผลไม้
บุคคล
ปัจจัยด้านพฤติกรรม ครอบคลุมทั้งพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวันและพฤติกรรมสุขภาพในการดำเนินชีวิตประจำวัน เป็นสิ่งที่ส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพ
ปัจจัยทางชีวภาพ เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ติดตัวมาตั้งแต่กำเนิดที่แฝงตัวอยู่ในโครโมโชมของทุกคน
ปัจจัยทางจิตใจครอบคลุมความรู้สึกการรับรู้ความเชื่อและค่านิยมของบุคคลที่มีต่อพฤติกรรมชี้งเป็นตัวกำหนดการเกิดโรค
สถานการณ์และปัญหาสุขภาพและสถานการณ์ Covid-19
สถานการณ์และปัญหาสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพของชุมชนเมือง
โรคที่เกิดจากการทำงาน เช่นอุบัติเหตุจากเครื่องจักรกลความเครียด ฯลฯ
ปัญหาสุขาพิบาล เช่นการกำจัดขยะน้ำเสียการจัดหาน้ำสะอาดูสำหรับอุปโภคและบริโภค
โรคขาดสารอาหารในเด็ก
ปัญหาจากการบริโภคที่ไม่เหมาะสม
ปัญหายาเสพติด ปัญหาสุขภาพจิต
อุบัติเหตุจราจร โรคเอดส์
ปัญหาสุขภาพของชุมชนชนบท
ปัญหาโรคภัยไข้เจ็บเนื่องจากการขาดความรู้
เช่น โรคระบบทางเดินอาหาร โรคพยาธิ
โรคที่เกิดจากความเชื่อบางอย่าง
โรคที่เกิดจากแมลงเป็นสื่อ
ปัญหาสารพิษจากการใช้ยาปราบศัตรูพืช
ภาวะทุพโภชนาการหรือการขาดสารอาหารบางชนิด
ปัญหาอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว
พฤติกรรมสุขภาพ การบริโภคอาหาร การบริโภคยา การสูบบุหรี่
สถานการณ์ Covid -19
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นพร้อมกับความไม่แน่นอนที่มากขึ้น
ภาวะเศรษฐกิจที่แย่ลงมีผุลลัพธ์ทางลบต่อสุขภาพจิตและส่งผลให้มีอัตราการตายที่เกี่ยวข้องกับปัญหาสุขภาพจิตสูงขึ้นการศึกษาที่ผ่านมายังพบว่าคนที่เผชิญความไม่แน่นอนเกี่ยวกับสถานการณ์การจ้างงานและบทบาททางอาชีพมักรายงานว่าสุขภาพจิตของตนเองแย่ลงมากกว่ากลุ่มอื่นๆ
มาตรการปิดเมือง กักตัวเพื่อลดโรคระบาด ส่งผลต่อสุขภาพจิต
งานศึกษาที่ทบทวนงานูวิจัยเกี่ยวกับผลของการกักตัวต่อสุขภาพจิตทั้งช่วงก่อนวิกฤติโควิดและในช่วงเงานศึกษาที่ทบทวนงานูวิจัยเกี่ยวกับผลของการกักตัวต่อสุขภาพจิตทั้งช่วงก่อนวิกฤติโควิดและในช่วงเความกลัว วิตกกังวลใจ ซึมเศร้า โมโหง่าย นอนไม่หลับ และมีภาวะป่วยทางจิตจากเหตุการณ์รุนแรงงานวิจัยจากหลายๆ ประเทศ ที่มีการปิดเมือง เช่น สหราชอาณาจักร ญี่ปุ่น อิตาลี และสวีเดนก็พบปัญหาสุขภาพจิตเพิ่มมากขึ้นในช่วงการปิดเมือง เช่น มีอาการวิตกจริต ซึมเศร้ามีความคิดจะฆ่าตัวตาย หรือการใช้สารเสพติดมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มเปราะบางคนหนุ่มสาว
จากปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในไทยเมื่อตุ้นปี พ.ศ.2563 ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตเข้ารับบริการทางการแพทย์มากขึ้นก็เป็นได้ อย่างไรก็ดี ในปี2563 จำนวนผู้ป่วยที่เข้ารับบริการกลับลดลงเล็กน้อยจากปี 2562ซึ่งส่วนหนึ่งอาจเป็นผลจากมาตรการปิดเมืองทำให้ผู้ป่วยบางคนไม่ได้เข้ารับการบริการอย่างต่อเนื่อง
ฐานที่ 6 แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพชุมชนและระบบสุขภาพระดับอำเภอ(District HealthSystem)แนวคิดการพยาบาลอนามัยชุมชนและการพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
แนวคิดพื้นฐานในการดูแลสุขภาพชุมชน
การดูแลสุขภาพชุมชนของรัฐก่อนการปฏิรูประบบสุขภาพของประเทศในปี พ.ศ. 2545 ใช้แนวคิดการดูแลสุขภาพเชิงรับโดยรัฐเป็นผู้จัดบริการสุขภาพให้แก่ประชาชนนโยบายและแผนสุขภาพที่รัฐกำหนดไว้
บริการสุขภาพที่จัดให้แก่ประชาชนส่วนใหญ่มักกระทำในโรงพยาบาลหรือคลินิกที่รอให้เข้ามาใช้บริการเมื่อมีการเจ็บป่วยหรือได้รับผลกระทบจากการเจ็บป่วยแล้วบ่อยครั้งที่ประชาชนบางส่วนจะปล่อยให้กาวะเจ็บป่วยมีความรุนแรงเสืยก่อนจึงจะแสวงหาการบริการดูแลสุขภาพ หรือการรักษาพยาบาล
ปัญหาหล่านี้ผลักดันให้รัฐออกพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติและปฏิรูประบบการดูแลสุขภาพของประเทศในปี 2545เพื่อเปลี่ยนแปล้งและปุรับปรุงระบบสุขภาพและการดูแลสุขภาพรวมถึงการประกันสุขภาพเพื่อให้ประชาชนสามารถสร้างเสริมสุขภาพของตนให้แข็งแรงในยามปกติ
ปฏิรูประบบสุขภาพจึงเน้นการใช้แนวคิดในการดูแลสุขภาพชุมชนในเชิงรุก(Proactive) มากกว่าการใช้แนวคิดเชิงรับ(Reactive) ที่มีมาแต่เดิมนั่นคือรัฐมุ่งเน้นการสร้างเสริมสุขภาพให้ดีมากกว่าซ่อมแซมสุขภาพที่เสียไปโดย
สนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมปัจจัยที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดีและร่วมสร้างพลังชุมชนในการขับเคลื่อน
การเร่งกระจายการให้บริการดูแลสุขภาพและการรักษาพยาบาลจากตัวเมืองไปสู่ชุมชนมากขึ้นเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย
ส่งเสริมและผลักดันให้ประชาชนตระหนักว่าการดูแลสุขภาพเป็นหน้าที่ของตนเองและครอบครัวไม่ใช่หน้าที่ของผู้อื่น
การพัฒนาศักยภาพและสมรรถนของเ้าหน้าที่สุขภาพที่ให้บริการะดับปฐมภูมิให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น
สนับสนุนให้ประชาชนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองในการดูแลสุขภาพเมื่อปกติ การดูแลสุขภาพเมื่อมีการเจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น การใช้ยาสามัญประจำบ้าน
การดูแลสุขภาพของชุมชนยุคใหม่จึงมีเป้าหมายให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพแข็งแรง อายุยืนยาว มีคุณภาพชีวิตที่ดีสามารถดำรงชีวิตโดยมีสุขภาวะทั้งทางกาย จิตสังคมและปัญญา เพื่อมีเป้าหมายในการดูแลสุขภาพชุมชนให้ประสบความสำเร็จโดยเฉพาะพยาบาลชุมชนมีภารกิจหลัก 8 ประการ
การให้บริการรักษาพยาบาลแก่ประชาชนที่เจ็บป่วยด้วยโรคทั่วไปในชุมชนโดยไม่ต้องไปโรงพยาบาล
การดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังที่บ้านในรูปแบบการเยี่ยมบ้านการติดตาม การดำเนินโรค
การดูแลผู้ที่ถูกทอดทิ้งทุกคนในชุมชนอย่างเหมาะสม
การสร้างชุมชนให้เป็นชุมชนสร้างเสริมสุขภาพในทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นการออกกำลังกายการสร้างอารมณ์เป็นสุข
การให้บริการตรวจคัดกรองและวินิจฉัยโรคความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนในชุมชนโดยทั่วหน้า
การปลูกจิตสำนึกเห็นคุณค่าความเป็นมนุษย์ การให้บริการจึงเป็นการให้ออกมาจากใจมากกว่าการทำงานเพียงหน้าที่
การควบคุมโรคที่พบได้บ่อยในชุมชน เช่น ไข้เลือดออก ไข้ซิกา
การสร้างการสร้างชุมชนเข้มแข็ง บูบูรณาการองค์ความรู้ด้านต่างๆในการพัฒนาชุมชนให้มีความเข็มแข็งทั้งด้านสุขภาพเศรษฐกิจและสังคม
แนวคิดสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลอนามัยชุมชน
การพยาบาลอนามัยชุมชนจะต้องอาศัยแนวคิดที่เกี่ยวข้องเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการของบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชนได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างแนวคิด
การมองชุมชนอย่างเป็นระบบ
สุขภาพชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพ
แนวคิดการพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นการพยาบาลที่ให้บริการดูแลรักษาและฟื้นฟูสุขภาพแก่ผู้ป่วยที่อยู่นอกโรงพยาบาล
เป้าหมาย
เป้าหมายในการให้บริการคือการดูแลสุขภาพและการรักษาพยาบาลผู้ป่วยที่บ้านตามแผนการรักษาของทีมเจ้าหน้าที่สุขภาพอาจมีการใช้เครื่องมือหรือเทคโนโลยี
ตัวอย่างการพยาบาลโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะโรคเรื้อรังที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องที่บ้าน เชน ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาต ผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของโรคและต้องการรักษาอยู่ที่บ้าน เป็นต้น
การพยาบาลอนามัยชุมชนในระบบสุขภาพ
ระดับปฐมภูมิ
เน้นการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
สำหรับประเทศไทยระบบบริการสุขภาพหลักประกอบด้วย
การสาธารณสุขมูลฐาน
การบริการสุขภาพอีก 3 ระดับ
ระดับทุติยภูมิ
ระดับตติยภูมิ
ระดับปฐมภูมิ
การพยาบาลอนามัยชุมชนมีความสัมพันเชื่อมโยงกบการสาธารณสุขและระบบสุขภาพ เนื่องจากสาขาวิชาชีพให้บริการสุขภาพกับประชาชนโดยระบบสุขภาพเป็นภาพรวมของระบบทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพของประชาชน
ปัญหาสาธารณสุขหรือปัญหาสุขภาพของประเทศ
ปัญหาภาวะสุขภาพ
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาโภชนาการ
ระบบสุขภาพระดับอำเภอ
กลไกสำคัญในการขับเคลื่อนงานสุขภาพและสร้างสุขภาวะในระดับพื้นที่ ช่วยบูรณาการแผนงานด้านสุขภาพที่มีการดำเนินงานในพื้นที่ให้มีการขับเคลื่อนร่วมกันไปอย่างมีเอกภาพ
มาตรฐานระบบสุขภาพระดับอำเภอมีทั้งหมด 10 หมวด
5.การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
5.2 มีกระบวนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
5.3 ให้คุญค่ากับบุคลากรทุกคนเสริมสร้างการทำงานเป็นทีม
5.1 มีบุคลากรวิชาชีพในสาขาต่างๆ
5.4 มีการสร้างบรรยากาศการทำงานที่เอื้อต่อสุขภาพและความปลอดภัยของบุคลากร
4.การจัดการความรู้ การวัดและวิเคราะห์การวางระบบสารสนเทศและการสื่อสาร
4.2 มีการกำหนดและทบทวนข้อมูล ตัวชี้วัดสำคัญ
4.3 ระบบสารสนเทศและการสื่อสารของแต่ละหน่วยงานมีความเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่าย
4.1 มีการจัดการความรู้เพื่อแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่ดี
3.การมุ่งเน้นผู้รับบริการ ประชาชนในพื้นที่และกลุ่มผู้เกี่ยวข้องที่สำคัญ
3.2 มีการนำข้อมูลความต้องการและความคาดหวังมาใช้วางแผนและปรับปรุงงานเพื่อพัฒนา
3.3 ขั้นตอนของระบบบริการสุขภาพที่ดำเนินการอยู่สะท้อนการตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการ
3.1 มีการรับรู้ความต้องการและความคาดหวังของผู้รับบริการแต่ละกลุ่ม
2.การบริหารแผนกลยุทธ์
2.2 มีการถ่ายทอดกลยุทธ์และเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติ
2.3 มีการระดมทรัพยากรและกำลังคนที่มีอยู่
2.1 มีการกำหนดกลยุทธ์เป้าหมายวัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
2.4 มีระบบกำกับติดตามงานและประเมินผลการดำเนินงาน
1.การนำ
1.3 ผู้นำมีการพบปะพูดคุยกันอย่างสม่ำเสมอ
1.4 มีการกำหนดกลไกการทำงานของเครือข่ายและบทบาทหน้าที่
1.2 ผู้นำเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอร่วมกันกำหนดทิศทางนโยบายและจุดประสงค์
1.5 ผู้นำวางระบบการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้นำด้วยกันหรือทีมงาน
1.1 ผู้นำเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเรียนรู้และเข้าใจในความต้องการความคาดหวังด้านสุขภาพ
1.6 มีการทบทวนและปรับปรุงประสิทธิภาพของระบบการนำเครือข่าย
6.การจัดการกระบวนงาน
6.3 มีการนำกระบวนงานที่ออกแบบไว้ไปปฏิบัติ
6.4 มีการประเมินผลการปฏิบัติงานตามกระบวนงานที่วางไว้
6.2 มีการออกแบบกระบวนงานของแผนงานโครงการ
6.5 มีการวางระบบจัดการความเสี่ยงและมีการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงกระบวนงาน
6.1 มีการพัฒนากระบวนงานรักษาพยาบาลภายในหน่วยงานไปชุมชน
7.การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
7.3 มีการจัดทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็ว(SRRT)
7.4 มีการกำหนดมาตรการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่จำเป็น
7.2 มีการวิเคราะห์เปรียบเทียบแปลความหมายข้อมูล
7.5 มีการเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสถานการณ์โรคและภัยสุขภาพ
7.1 หน่วยงานร่วมกับทีมงานในพื้นที่จัดระบบเฝ้าระวัง
8.การทำงานกับชุมชน
8.3 เครือข่ายร่วมกับชุมชนในการติดตามประเมินผลการพัฒนา
8.4 เครือข่ายมีการเสริมสร้างการมีส่วนร่วมและการพัฒนาศักยภาพของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
8.2 เครือข่ายร่วมกับชุมชนในการวางแผนแก้ไขปัญหา
8.1 เครือข่ายร่วมกับ ชุมชนในการออกแบบบริการทางสุขภาพ
9.กระบวนการดูแลผู้ป่วย
9.4 หน่วยงานมีการวางแผนการดูแลผู้ป่วยตามมาตรฐานวิชาชีพ
9.5 ผู้ป่วยที่จำหน่ายออกจากหน่วยงานได้รับการส่งต่อ ติดตาม ประเมิน
9.3 หน่วยงานมีการประเมินผู้ป่วยและตรวจวินิจฉัยในกลุ่มโรค
9.6 ผู้ป่วยครอบครัวและผู้ดูแลผู้ป่วยได้รับการเสริมพลังจนมีศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
9.2 หน่วยงานจัดระบบรับส่งต่อผู้ป่วยที่เหมาะสมปลอดภัยและไร้รอยต่อ
9.7 มีการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยในลักษณะองค์รวม
9.1 หน่วยงานจัดกระบวนการดูแลผู้ป่วยที่เอื้อต่อการเข้าถึงตามความจำเป็นหรือเร่งด่วน
10.ผลสัมฤทธิ์ของการดำเนินงานของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ
10.2 การพัฒนาโครงสร้างการบริหารจัดการภายในเครือข่าย
10.3 การจัดบริการสุขภาพ
10.1 สถานะสุขภาพของชุมชน
10.4 การดูแลผู้ป่วยรายโรค