Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิจัยดนตรี - Coggle Diagram
วิจัยดนตรี
8.ข้อเสนอแนะ
การฟังเพลงอาจจะช่วยความจำได้จริง แต่ก็ต้องดูด้วยว่าผู้ฟังชอบฟังเพลงประเภทไหน เพื่อให้ผู้ฟังรู้สึกผ่อนคลาย ไม่เครียด
การเรียนร้องเพลง ฟังเพลง เล่นดนตรี สามารถส่งเสริมสุขภาวะของผู้สูงอายุในด้านร่างกาย สังคม เเละจิตใจ ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกสดชื่น อารมณ์ดี ผ่อนคลาย มีความสุขและมั่นใจขึ้น การฟังดนตรีสามารถลดความเครียด ความเจ็บปวด อาการซึมเศร้าและยังช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้นด้วย
การใช้ดนตรีหรือเพลงนั้นสามารถช่วยเป็นเพื่อนให้แก่ผู้สูงอายุได้โดยช่วยให้ผู้สูงอายุจดจ่ออยู่กับการฟังเพลงหรือการร้องเพลงเพื่อลดความกังวลต่างๆลงได้
เห็นด้วย ข้อเสนอแนะ คือ ดนตรีสามารถทำให้ผู้สูงอายุได้ผ่อนคลายจิตใจ มีความสุขเพลิดเพลิน ลืมความทุกข์ ความเจ็บปวดชั่วขณะได้เช่นกัน
ดนตรีสามรถส่งเสริมให้ผู้สูงอายุให้มีอารมณ์ดีขึ้นไม่ว่าจะเป็นหารร้องเพลงฟังเพลงหรือเล่นดนตรีเองและดนตรียังบ่งบอกถึงคนๆนั้นเองของหรือตัวตนของผู้สูงอายุได้อีกด้วย
ดนตรีบำบัด สามารถจัดการกับความเครียดของผู้สูงอายุได้และบันเทาจิตใจของผู้ฟังให้รู้สึกคล้อยตามเสียงดนตรีที่บำบัดได้
-
-
1.ความเป็นมา
สังคมไทยในปัจจุบันกําลังเผชิญอยู่ในภาวะสังคมผู้สูงอายุที่มีสัดส่วนโครงสร้างประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทําให้ต้องการการเตรียมพร้อมในด้านการพัฒนาระบบที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ เพื่อรองรับประชากรสูงวัยที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อมุ่งไปสู่การพัฒนาให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ มีศักยภาพ สามารถทําประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัวและสังคมได้ การที่ผู้สูงอายุสามารถดําเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและความพึงพอใจ หรือ มีสุขภาพที่ดี ไม่ป่วยเป็นโรคต่างๆ มีความมังคั่ง ความสําเร็จและการบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้นั้นองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้เรียกภาวะนี้ว่า การมีสุขภาวะทางใจ
5.วิธีดําเนินการวิจัย
การศึกษาคร้ังน้ีใช้รูปแบบงานวิจัยเอกสาร (Documentary research) ตามขั้นตอนดังต่อไปน้ี 1.การสืบค้นงานวิจัยและหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการเพื่อการทบทวน ประกอบด้วย
1.1 แหล่งข้อมูลงานวิจัยแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศมาจากวัสดุตีพิมพ์ผลงานวิจัยใน ภาษาไทยและต่างประเทศ โดยการสืบค้นงานวิจัยและหลักฐานอ้างอิงทางวิชาการดังกล่าวมาจากสิ่งพิมพ์และฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ จากแหล่งข้อมูลดังต่อไปน้ี
-
1.1.2 งานวิจัย วิทยานิพนธ์ และบทความทางวิชาการจากฐานข้อมูลของห้องสมุดจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยรวมถึงฐานข้อมูลในต่างประเทศ
-
1.2 คำสำคัญที่ใช้ในการสืบค้นงานวิจัยได้แก่ “ดนตรี” ผู้สูงอายุ “สุขภาวะ” และในรูปแบบภาษาอังกฤษใช้คำสืบค้น คือ“music”“aging”/“ageing”/“olderadult”และ“well-being” 1.3 เกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัย ดังน้ี
(1) ชนิดหรือประเภทของงานเป็นงานวิจยั วิทยานิพนธ์หรือบทความวิจยั ที่ศึกษาเกี่ยวกับดนตรีและสุข ภาวะทางใจของผู้สูงอายุ
2.จุดมุ่งหมายของการวิจัย
เพื่อศึกษาเอกสารและงานวิจัยเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องในเรื่องบทบาทของดนตรีและสุขภาวะทางใจของผู้สูงอายุ ซึ่งไม่ได้เน้นที่ทักษะทางดนตรี แต่เน้นในด้านพัฒนาทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
-
7.ผลการวิจัย
สรุปผลการวิจัย
ข้อค้นพบในเรื่องบทบาทของดนตรีต่อสุขภาวะทางใจและปัจจัย ทางจิตวิทยาอื่น ๆ ในผ้สูงอายุ พบว่ามี 3 ประเด็นที่มีความเหมือนหรือคล้ายคลึงกนัก
ประการที่หนึ่งการพัฒนาเอกลักษณ์และความเป็นตนเองงานวิจัยของHaysและMinichielloอธิบายถึงการใชด้ นตรี เป็นสื่อหรือสัญลักษณ์ที่แสดงถึงตัวตนของผ้สูงอายุไม่ใช่เฉพาะการเล่นดนตรีหรือการแสดงดนตรีเท่าน้นั แต่ยงั หมายถึงการเลือกใช้ดนตรีเพื่อการสื่อสาร หรือการฟัง ที่เป็นเครื่องหมายแสดงความเป็นตัวเองของผู้สูงอายุออกมาได้
ประการที่สอง การพัฒนาทางอารมณ์การศึกษาทั้งสองกลุ่มกล่าวตรงกันว่าผู้สูงอายุมีอารมณ์ที่ดีขึ้นรู้สึกดีข้ึน จากการทำกิจกรรมดนตรี ไม่ว่าจะเป็นการร้องเพลง การฟังเพลง รวมไปถึงการเล่นดนตรี เปลี่ยนอารมณ์จากด้านลบให้ กลายเป็นบวก สดชื่น สดใสมากข้ึน ซึ่งจะนาํ ไปสู่สุขภาวะที่ดีข้ึนของผู้สูงอายุอีกด้วย
ประการที่สาม การเชื่อมโยงเหตุการณ์ในชีวิตต่าง ๆ ในช่วงที่ผ่านมา มีการศึกษาในผู้สูงอายทุกคนมีอาการความจาํ เสื่อมพบว่าการฟังดนตรีทาํ ให้ผผู้ป่วยสามารถเรียกคืนความทรงจำเกี่ยวกับตัวเองได้ดีขึ้นกลุ่มงานวิจัยของHaysและ Minichiello