Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (Planning) - Coggle Diagram
การวางแผนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (Planning)
ระยะก่อนวางแผน
การจัดลําดับความสําคัญของปัญหา (Priority Setting)
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อตกลงร่วมกัน (Consensus) ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญหานั้น ๆ
เพื่อให้สอดคล้องกับการวางแผนแก้ไขปัญหาตามลําดับก่อนหลัง
หลักการจัดลําดับความสําคัญของปัญหาอนามัยชุมชน
ควรเป็นปัญหาที่สามารถให้การช่วยเหลือในลักษณะของการป้องกันมากกว่าการรักษา
เป็นปัญหาที่กระทบต่อประชากรกลุ่มใหญ่ โดยเฉพาะประชากรกลุ่มผู้เยาว์หรือกลุ่มแรงงาน
วิธีการจัดลําดับความสําคัญของปัญหา
1.ภาวะด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน
ความรุนแรงของปัญหา
อัตราตาย
ขนาดปัญหา
งอัตราความชุกของโรค
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ด้านทรัพยากร
ด้านระยะเวลา
ด้านวิชาการ
ด้านกฎหมาย
ด้านศีลธรรม
การตระหนักในปัญหาของชุมชน
ประชาชนในชุมชนเห็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนนั ่นมีความสําคัญหรือมีความวิตก
ห่วงใย หรือต้องการให้แก้ไขรีบด่วนหรือไม่
การศึกษาสาเหตุของปัญหา
ขั้นตอนการศึกษาสาเหตุปัญหา
1.การเก็บรวบรวมข้อมูล
2.การวิเคราะห์ข้อมูล
ปัจจัยเสริม
ปัจจัยสนับสนุน
ปัจจัยหลัก
แบบจําลองการโยงใยของสาเหตุ (The Web of Causation Model)
ขั้นตอนในการสร้างของแบบจําลองการโยงใยของสาเหตุ
ปัญหานั้น ๆ น่าจะมีสาเหตุ มาจากอะไรบ้าง โดยต้องหาสาเหตุที่ใกล้ที่สุดก่อนเรียกว่าสาเหตุ
ทางตรง
ใช้หลักของเหตุผล หรือหลักทางวิชาการ
.ใช้ประสบการณ์
3.หลังจากนั้นให้ พิจารณาต่อไปอีกว่า สาเหตุทางตรงที่อยู่ใกล้กับปัญหาที่เรากําลังศึกษา
อยู่นั้น เกิดจากสาเหตุอะไรบ้าง
เริ่มต้นจากปัญหาที่มีอยู่หรือเป็นอยู่ในขณะนั้น ๆ
ระยะวางแผน
การวางแผนงานย่อยหรือโครงการ ( Sub Plan, Project
การวางแผนงานหลัก ( Master Plan )
ประเภทของแผน
ประเภทของแผนแบ่งตามเวลา
แผนระยะยาว
แผนระยะปานกลางห
แผนระยะสั้น
ประเภทของแผนแบ่งโดยอาศัยการกระทําเป็นหลัก
แผนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ซากันหรือแผนเพื่อใช้ครั้งเดียว
แผนเพื่อการกระทําซํ้าหรือแผนถาวร
ประเภทของแผนแบ่งตามพื้นที่
แผนชาติเป็นการวางแผนในลักษณะกําหนดเป็นแนวทางหรือนโยบาย
แผนภาค เป็นการวางแผนในลักษณะของการมุ่งเน้น การปฏิบัติโดยยึดนโยบายเป็นกรอบ
แผนพื้นที่เป็นการวางแผนในลักษณะของแผนงาน หรือโครงการโดยเน้นกิจกรรมการแก้ไข
ประเภทของแผนแบ่งตามลายลักษณ์ อักษร
แผนที่มีลายลักษณ์อักษร
แผนที่ไม่มีลายลักษณ์อักษร
ลักษณะของการถ่ายทอดนโยบายมาเป็นแผน
แผนงาน
ย่อยในแผนแม่บท ซึ้งกําหนดรายละเอียดว่าจะมี
กิจกรรมการดําเนินงานอะไรบ้าง ซึ้งเฉพาะเจาะจงในปัญหาที่ต้องการแก้ไขชัดเจน มีระยะเวลา 1-5 ปี
.1 หัวเรื่อง
2 ปัญหา
3 วิเคราะห์ปัญหา
เป้าประสงค
5 วัตถุประสงค์ว
7 ประเมินผล เ
.6 วิธีการทางสาธารณสุข
โครงการ
(Project) หมายถึง เป็นองค์ประกอบย่อยของแผนงานที่ถูกกําหนดขึ้นเพื่อใช้ในการดำเนินงาน
.2 ผู้รับผิดชอบโครงการ
1ชื่อโครงการ
3 หลักการและเหตุผล เ
.4 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
6 วิธีการดําเนินการ
.5 ระยะเวลาดําเนินการ
ลักษณะของแผนอนามัยชุมชนที่ดี
ตั้งอยู่บนรากฐานของความเป็นจริง
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
มีกลยุทธ์หรือกิจกรรมแก้ปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้
6,มีการกําหนดขอบเขตหน้าที่การทํางานและความรับผิดชอบงานให้แก่บุคลากร ใ
มีกําหนดระยะเวลาการทํางานที่แน่นอน
กําหนดการใช้ทรัพยากรและงบประมาณได้อย่างเหมาะสมกับชุมชน
สามารถประเมินความสําเร็จของงานได้
มีลักษณะยืดหยุ่นและง่ายต่อการปรับปรุงแก้ไข
เป็นแผนทีÉสอดคล้องกับนโยบาย