Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไส้ติ่งอักเสบ, ซึ่ง Reflex ทั้งสองชนิด มีผลให้เกิด Mass movement…
ไส้ติ่งอักเสบ
-
-
อาการของไส้ติ่งอักเสบ
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่ไส้ติ่งเริ่มบวม โดยจะมีอาการปวดท้องบริเวณชายโครงด้านขวา หากมีการเคลื่อนไหว เช่น เดิน ไอ จาม จะรู้สึกเจ็บมากขึ้น บางรายอาจมีท้องเสียร่วมด้วย
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่อันตรายเพราะไส้ติ่งแตก และเชื้อแบคทีเรียกำลังแพร่กระจายในช่องท้องจะทำให้ผู้ป่วยมีไข้ขึ้น และหากไม่ได้รับการผ่าตัดจะทำให้เชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือดส่งผลให้เสียชีวิตได้
ระยะที่ 1 เป็นระยะเริ่มแรกที่ไส้ติ่งเริ่มอุดตัน จะมีอาการปวดท้องบริเวณรอบสะดืออย่างฉับพลัน จุกแน่นท้อง เบื่ออาหาร
การวินิจฉัยโรค
-
-
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตรวจการนับเม็ดเลือด พบเม็ดเลือดขาวสูงขึ้น ตรวจปัสสาวะ พบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวเล็กน้อย
-
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะก่อนผ่าตัด
ให้การพยาบาลเพื่อลดการเจ็บปวด ให้ผู้ป่วยนอนพักบนเตียงและลดการเคลื่อนไหว งดน้ำงดอาหาร ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษาฟังเสียงลำไส้บีบตัวทุก 4-8 ชั่วโมง
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการแตกทะลุของไส้ติ่งประเมิน ระยะเวลาที่ปวด ตำแหน่งที่ปวด เฝ้าระวังไส้ติ่งแตก เยื่อบุช่องท้องอักเสบมีการปวดท้องทั่วๆเพิ่มขึ้น ท้องอืด หายใจเร็วตื้น มีไข้สูงขึ้น
ระยะหลังผ่าตัด
ให้การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความสุขสบายและทุเลาความเจ็บปวด ช่วยเหลือผู้ป่วยพลิกตะแคงตัว ลุกจากเตียงโดยรวดเร็วเท่าที่เป็นได้กระตุ้นให้กระเพาะอาหารและลำไส้บีบตัวเมื่อรับประทานอาหารทางปากได้ส่งเสริมให้ดื่มน้ำอุ่นๆหลีกเลี่ยงอากหารที่มีเครื่องดื่มที่ก่อให้เกิดก๊าซให้ยาแก้ปวดตามแผนดการรักษา และเฝ้าระวังฤทธิ์ข้างเคียงของยาที่อาจเกิดขึ้น
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด ประเมินอาการและรายงานอาการและอาการแสดงที่แสดงว้่าแผลหายช้ากว่าปกติดูแลให้สารน้ำและสารอาหารอย่างเพียงพอเพื่อส่งเสริมการหายของแผลทำความสะอาดแผลโดยใช้เทคนิคปลิดเชื้อแนพนำให้ผู้ป่วยประคองแผลเวลาเคลื่อนที่เพื่อลดการปวดบาดแผล
ให้การพยาบาลเพื่อให้ผู้ป่วยปฎิบัติตนได้อย่างถูกต้อง แนะนำกับผู้ป่วยในการปฏิบัติตนในระยะหลังผ่าตัด และเมื่อผู้ป่วยกลับบ้านนอกจากนี้ควรเตรียมยาและของใช้ให้ผู้ป่วยรวมทั้งผู้ป่วยมาพบแพทย์เพื่อติดตามผลการรักษา
การวินิจฉัยการพยาบาล ระยะก่อนผ่าตัดและหลังผ่าตัด ขณะวินิจฉัยโรคอื่นได้ไม่ชัดเจนหลีกเลี่ยงการให้ยาระบายและการสวนอุจจาระเพราะจะกระตุ้นให้บีบลำไส้มากขึ้นรายที่สงสัยควรงดน้ำงดอาหารไม่ควรให้ยาแก้ปวดจนกว่าจะได้ข้อวินิจฉัยที่ชัดเจนจัดให้อยู่ท่านอนอราบศีรษะสูงหรือตะเเคง
-
-
ไส้ติ่ง
ลักษณะเป็นท่อปลายตันยาวประมาณ 3-4 นิ้ว หน้าที่ของไส้ติ่งยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่าอาจมีหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน และสะสมเชื้อแบคทีเรียที่ช่วยในระบบการย่อยอาหาร
-
-
ไส้ติ่งอักเสบเกิดจาก
โรคไส้ติ่งอักเสบ (Appendicitis) มักเกิดจากของเสีย สิ่งแปลกปลอม หรืออุจจาระที่เคลื่อนลงไปอุดตันในไส้ติ่งทำให้เกิดแบคทีเรียสะสม
มีเลือดคั่งและกระจายไปที่ผนังไส้ติ่งจนเกิดการอักเสบกลายเป็นโรคไส้ติ่งอักเสบในที่สุด หากไส้ติ่งแตกทะลุจนเกิดการติดเชื้อในช่องท้องแล้วกลายเป็นติดเชื้อในกระแสเลือดอาจมีอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้
-
-
-
-
สมาชิก
นางสาวฐาปนี มินทบุญ ห้อง 2B เลขที่ 18
รหัสนักศึกษา 63123301032
นางสาวสิริญญา ทิมเชียงราก ห้อง 2B เลขที่ 69
รหัสนักศึกษา 63123301148