Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไทยแลนด์4.0 ด้านสาธารณสุข - Coggle Diagram
ไทยแลนด์4.0
ด้านสาธารณสุข
การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข (Healt care decentralization
ความเป็นมาของการกระจายอำนาจ
การก่ายโอนหน้าที่ความรับผิดชอบูขององค์กรส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดจากระดับสูงไปสู่ระดับต่ำ มีการตั้งองค์กรนิติบัญญัติขึ้นมา ถ่ายโอนอำนาจไปสู่องค์กรระดับท้องถิ่นในรูปแบบของการกระจายอำนาจคือการถ่ายโอ
มักจะมีสถานะทางกฎหมายและหน้าที่รับผิดชอบที่ชัดเจนอิสระ จากส่วนกลางเพื่อให้การกะจายอำนาจบรรลุเจตนารมณ์ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ
มีแนวคิด 3 ด้านคือ
1)ต้านอิสระภาพการกำหนดนโยบายการบริหารแบบรัฐเดี่ยวและความเป็นเอกภาพของประเทศมีพระมหากษัติย์ทรงเป็นประมุข ส่งเสริมให้ ปชช.มีส่วนร่วมในการเมืองการปกครองท้องถิ่นภายใต้ระบอบประชาธิปไตย
2)ด้านการบริหารราชการแผ่นดินและการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น โดยปรับบทบาทให้ส่วนท้องถิ่นเข้ามารับผิดชอบการบริหารราชการแทนส่วนกลางเท่าที่ความสามารถจะดำเนินการได้และให้ส่วนกลางยังคงทำหน้าที่กำกับดูแล
3)ด้านประสิทธิภาพการบริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณะที่ดีขึ้น บริหารโปร่งใสมีประสิทธิภาพรับผิดชอบต่อผู้ใช้บริการมากขึ้น ส่งเสริมให้ภาคประชาสังคมและชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจร่วมดำเนินงานและติดตามตรวจสอบ
สถานการณ์การกระจายอำนาจด้านสาธารณสุข
รูปแบบที่ ๑ ถ่ายโอนสถานีอนามัยและบุคลากรมาทั้งหมด
รูปแบบที่ ๒ ถ่ายโอนสถานีอนามัยมาทั้งหมด แต่บุคลากรมาเพียงบางส่วน
รูปแบบที่ ๓ ถ่ายโอนสถานีอนามัยมาเพียงบางแห่ง แต่บุคลากรมาทั้งหมด
รูปแบบที่๔ ถ่ายโนสถานีอนามัยและบุคลากรมาเพียงบางส่วน
เกณฑ์ประเมินความพร้อมด้านการจัดการสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1)ประสบการณ์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการจัดหรือมีส่วนร่วมจัดการด้านสาธารณสุข
2) ด้านแผนการเตรียมความพร้อมในการจัดการด้านสาธารณสุข
3) วิธีการบริหารจัดการและจัดการด้านสาธารณสุข
4) การจัดสรรงบประมาณเพื่อการสาธารณสุข
5)ความเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต่อความพร้อมในการจัดการด้านสาธารณสุขขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัญหาและอุปสรรคในการกระจายอำนาจ
การขาดความรู้ความเข้าใจหลักการกระจายอำนาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประสานงาน
การถ่ายโอนภารกิจปัญหาด้านกฎระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบงานบุคลากรของข้าราชการสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีความแตกต่างกับข้าราชการในสถานีอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ระเบียบเงินบำรุงของสถานีอนามัยไม่สอดคล้องกับ
ระเบียบเงินบำรุงสถานบริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ความล่าช้าของการโอนเงินเดือน ค่าตอบแทน
สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของข้าราชการที่ถ่ายโอนจากกรมบัญชีกลางมายังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ต้องใช้เวลาถึง
6 เดือน
ยุทธศาสตร์กำลังคนด้านสุขภาพ ในยุคไทยเเลนด์ 4.0
พัฒนาระบบและกลไกขับเคลื่อนอย่างมีเอกภาพและประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการของประชาชน
บริหารกำลังคนให้เกิดประโยชน์สูงสุด แต่งตั้งอย่างโปร่งใส สร้างความก้าวหน้าในสายอาชีพ
สร้างเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพให้เข้มแข็งและยั่งยืน
ผลิตและพัฒนากำลังคนอย่างเพียงพอและมีคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
(พ. ศ .2559 - 2579)
ระยะที่1 ปฏิรูประบบสุขภาพ(2560-2564)
ปรับระบบบริหารจัดการ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ระยะที่2 การสร้างความเข้มแข็ง(2565-2569)
จัดการโครงสร้างพื้นฐานกำลังคน รวมทั้งการป้องกันควบคุมโรค
ระยะที่3 ความยั่งยืน(2570-2574)
ระบบสุขภาพของไทยต้องมีความยั่งยืนทางด้านการเงินสามารถพึ่งพาตนเองได้
ระยะที่4(2575-2579)
มีระบบสุขภาพที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ เทียบเคียงนานาชาติได้
ระบบสุขภาพยั่งยืน
ประชาชนมีระบบสุขภาพแบบองค์รวมเป็นธรรมยุทธศาสตร์ 4 Excellence
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล
สร้างต้นแบบองค์การคุณธรรม
จัดการระบบการเงินการคลังสาธารณสุข เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรเป็นเลิศ
แก้ปัญหาการขาดแคลนกำลังคน พัฒนาเครือข่ายบุคลากรด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ความสามารถในการแข่งขัน
สร้างความเป็นเลิศทางการแพทย์ จัดระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
ให้ความสำคัญด้านเครือข่ายสุขภาพอำเภอ พัฒนาอาสาสมัคร
ยุทธศาสตร์ความมั่งคงด้านส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
พัฒนาคุณภาพชีวิต ปชช.ทุกกลุ่ม ลดกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง
เจ้าหน้าที่มีความสุข บุคลากรทางการแพทย์และกระทรวงสาธารณสุขได้รับความก้าวหน้า มีความสุขในการทำงาน
ประชาชนสุขภาพดี มีค่าเฉลี่ยอายุ > 87 ปี
ทางออกสำหรับปัญหาและอุปสรรค
ในส่วนของการบริหารจัดการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ควรมีคณะกรรมการจากกระทรวงสาธารณสุข
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนในจำนวนที่เท่ากัน
ประชาชนผู้รับบริการในพื้นที่จะเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์จากการถ่าย
โอนอย่างเต็มที่สมตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญอย่างแท้จริง
มีแนวคิดจากนักวิชาการกลุ่มหนึ่งที่เสนอให้พิจารณาการปรับเปลี่ยน
รูปแบบของการกระจายอำนาจด้านสาธารณสูข
โดยพยายามชี้ให้องค์การมหาชนที่จัดตั้งขึ้น
ทำความเข้าใจประเด็นการกระจายอำนาจในรูปแบบการถ่ายโอนสถานีอนามัยต้องเกิดขึ้นในทุกระดับตั้งแต่นโยบายส่วนกลางจนถึงระดับท้องถิ่น
ควรมีศูนย์บริหารจัดการถ่ายโอนระดับจังหวัด
คณะกรรมการระดับพื้นที่จะทำให้กระบวนการบริหารจัดการควบคุมการติดตามเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ