Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข - Coggle Diagram
กลวิธีทางการพยาบาลสาธารณสุข
แนวคิดและกลวิธีการสาธารณสุขมูลฐาน
สาธารณสุขมูลฐาน, จปฐ
กิจกรรมที่จำเป็นในการสาธารณสุขมูลฐาน(Essential Element PHC)
ประชาชนสามารถมีส่วนร่วมเพื่อให้บริการกันเองอย่างน้อย 8 องค์ประกอบ
1.งานโภชนาการ (Nutrition : N)
2.งานสุขศึกษา (Education : E)
3.การจัดหาน้ำสะอาดและสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม (Water Supply and Sanition : W)
4.การเฝ้าระวังโรคประจำถิ่น (Surveillance for Local Disease Control : S)
5.งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Immunization : I)
6.งานรักษาพยาบาลเบื้องต้น (Treatment : T)
7.งานจัดหายาที่จำเป็นไว้ในชุมชน (Essential Drugs : E)
8.การอนามัยแม่และเด็กและการวางแผนครอบครัว (Maternal and Child Health and Family Planning : M)
9.งานสุขภาพจิต (Mental Health : M)
10.งานทันตสาธารณสุข (Dental Health : D)
11.งานอนามัยสิ่งแวดล้อม (Environmental Health : E)
12.การคุ้มครองผู้บริโภค (Consumer Protection : C)
13.การป้องกันอุบัติเหตุและฟื้นฟูสภาพคนพิการ (Accident and Rehabilitation : A)
14.งานป้องกันและควบคุมโรคเอดส์ (AIDS : A)
กลวิธีในการดำเนินการสาธารณสุขมูลฐาน
การมีส่วนร่วมของชุมชน
การใช้เทคโนโลยีเหมาะสม
การกำหนดกลวิธีการดำเนินงานสาธารณสุข
ความเสมอภาค
คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
การพัฒนาที่ยั่งยืน
ประสิทธิผลคุ้มค่า
บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม)
แจ้งข่าวสาธารณสุข แนะนำ เผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน
ประสานงานเจ้าหน้าที่
ช่วยเหลือรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ติดตามการรักษาและจ่ายยาพื้นฐาน
เป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชน
ปฏิบัติการสาธารณสุขมูลฐาน 14 องค์ประกอบ
เป็นแกนกลางประสานงาน
ขั้นตอนการนำ ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ) ไปใช้
ขั้นที่ 1 การสำรวจข้อมูล มี จปฐ.1 และ จปฐ 2
ขั้นที่ 2 รู้ปัญหาชุมชน
ขั้นที่ 3 วิเคราะห์ปัญหาเพื่อกำหนดสาเหตุของปัญหา
ขั้นที่ 4 จัดลำดับก่อนหลังและวางแผนแก้ไข
ขั้นที่ 5 ดำเนินงานตามแผน
ขั้นที่ 6 ประเมินผล
ขั้นที่ 7 สอนหมู่บ้านอื่น
ประโยชน์ของการใช้ จปฐ
ส่วนที่ 1 ประโยชน์ของประชาชน
ประชนไม่สับสนบทบาทเจ้าหน้าที่
ชาวบ้านรู้จักปัญหาของตน
มีเป้าหมายในการพัฒนา
กำหนดแนวทางพัฒนา/แก้ปัญหา
มีการระดมทุนทรัพยากร
ประเมินผลได้
ส่งเสริมให้ชาวบ้านมีกระบวน
การคิดเป็นวิเคราห์
ส่วนที่ 2 ประโยชน์ของรัฐ/ข้าราชการ
ประสานงานเป็นรูปธรรม
หล่อหลอมความคิด
เกิดเป้าหมายแน่นอน
กระจายทรัพยากร
สถานะของการใช้ จปฐ
เป้าหมาย Goal
ตัวชี้วัด Indicator
ข้อมูล Data
กระบวนการ Process
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 10(พศ 2550-2554) มุ่งสร้าง "ระบบสุขภาพพอเพียง" กำหนดวิสัยทัศน์ 2 ประการ คือ
ทำให้สังคมอย่เย็นเป็นสุขร่วมกัน (Green and Happiness Society)
ระบบสุขภาพไทย มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้ : สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชีวิตมีความสุขอย่างพอเพียง
ระบบสุขภาพพอเพียง : ภาพลักษณ์ที่พึงประสงค์
มีรากฐานเข้มแข็งในระดับครอบครัว+ชุมชน
มีความรอบคอบ+รู้จักประมาณ
ใช้เทคโนโลยีเหมาะสม
บูรณาการด้านส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้นฟู และคุ้มครองผู้บริโภค
มีระบบภูมิคุ้มกัน
มีคุณธรรม จริยธรรม คือ ซื่อตรง ไม่โลภ รู้จักพอ
วิวัฒนาการของสาธารณสุขมูลฐาน
พศ 2520 องค์การอนามัยโลก"ประชาชนทุกคนในโลกจะต้องมีสุขภาพดีถ้วนหน้า ภายในปี คศ 2000"
พศ 2521 ประชุมใหญ่ที่ Alma-Ata รัสเซีย มีข้อตกลงว่าการสาธารณสุขมูลฐาน(Primary Health Care) เป็นวิธีหลักในการบรรลุเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้า
พศ 2523 ไทยลงนามกฎบัตรขององค์กรอนามัยโลก เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย"สุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543"
พศ 2520-2524 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 เริ่มดำเนินการสาธารณสุขมูลฐานเน้น ผสส, อสม, เกิด 3ก(กำลังคน กองทุน การบริหาร)
พศ 2525-2529 แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 รัฐให้ความสำคัญกับการพัฒนาชุนชบอย่างจริงจัง กำหนดกิจเช่น จปฐ , โครงการหมู่บ้านพึ่งตนเอง
แนวคิดการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ชุมชนเข้มแข็ง
องค์ประกอบของชุมชนเข้มแข็ง
คนหลากหลายคนรวมกัน
มีเป้าหายร่วมกัน
มีจิตสำนึกการพึ่งตนเอง
มีอิสระในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ
มีการระดมทรัพยากร
มีการเรียนรู้เชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
จัดทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
บริหารกลุ่มหลากหลาย เครือข่ายดี
เสริมสร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ลักษณะชุมชนเข้มแข็ง
เชื่อมั่นในศักยภาพตนเอง
พร้อมที่จะร่วมกันแก้ปัญหา
กระบวนการเคลื่อนไหวต่อเนื่อง
ทุกคนมีส่วนร่วมประเมินสถานการณ์
สมาชิกเกิดการเรียนรู้ผ่านการเข้าร่วมกระบวนการ
มีแผนการพัฒนาทุกด้าน
มีเครือข่ายความร่วมมือ
แนวคิดประชาสังคม(Civil Society)
องค์ประกอบ
จิตสำนึกประชาสังคม(Civic consciousness)
โครงสร้างองค์กรประชาสังคม(Civic organization)
เครือข่ายสังคม(Civic network)
แนวคิดทุนทางสังคม(Social Capital)
ทุนมนุษย์
ทุนสถาบัน
ทุนทางปัญญา
หุ้นส่วนสุขภาพ(Partnership)
โครงสร้างของหุ้นส่วน(Structure of partnership)
ผู้ให้ความรู้(Heaith educator)
ผู้ให้อำนวยการแลกเปลี่ยนพูดคุย(Facilitator)
ผู้ช่วยเหลือ(Helper)
กระบวนการของหุ้นส่วน(Process of partnership)
ร่วมกันใช้อำนาจ
การเจรจา : 1.ดึงความต้องการ/คาดหวัง 2.สร้างความเห็นร่วมกัน 3.เจรจาเพื่อให้เกิดแผนงาน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มี 6 ขั้น
1.ระบุผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
2.ระบุธรรมชาติผู้เกี่ยวข้องแต่ละกลุ่ม
3.ระบุโอกาส+ความท้าทาย
4.ระบุความรับผิดชอบ
5.ระบุกลยุทธ์+แนวทางปฏิบัติ
6.เฝ้าระวัง+ควบคุมให้ดำเนินไปในทิศทางที่กำหนด
เครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
L-Learning เรียนรู้ร่วมกัน
I-Investment ลงทุนทั้งแรงกาย ใจ ทุน สิ่งของ
N-Nurture ฟูกฟัก บำรุง ดุแลกัน
K-Keep รักษาสัมพันธภาพ
การสร้างเสริมพลังอำนาจ(Empowerment)
ความสามารถในการตัดสินใจ
เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทรัพยากร
ความสามารถที่จะพิจารณาทางเลือก
บริหารตัดสินใจกลุ่ม
มีความคิดเชิงบวก
เรียนรู้+เข้าถึงทักษะพัฒนาสถานการณ์กลุ่ม
ความสามารถที่จะสื่อสารและนำความรู้ไปเปลี่ยนแปลง
เพิ่มอัตลัษณ์เชิงบวก
เพิ่มความสามารถ
แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชน
ให้ข้อมูลข่าวสาร / รับฟังความคิดเห็น / เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม / ความร่วมมือโดยเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐ / การเสริมอำนาจ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลอนามัยชุมชน
กลวิธีทางการปฏิบัติการพยาบาล
ความเป็นเจ้าของหรือหุ้นส่วนดำเนินงาน
ความเป็นหุ้นส่วนกันจะเป็นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน (Community's capacity)
ความต้องการด้านสุขภาพของชุมชน
เพิ่มความตระหนักของชุมชนต่อข้อมูลหรือดัชนี
ส่งเสริมให้แลกเปลี่ยนวิสัยทัศน์
สนับสนุนคน+องค์ใช้ทักษะ
กระตุ้นให้ประชาชนร่วมตัดสินใจสุขภาพตนเอง
ให้ชุมชนเห็นความสำคัญของสุขภาพโดยรวม
ให้บริการโดยเน้นความสำคัญตามลำดับความสำคัญ
ยอมรับความแตกต่างทางวัฒนธรรม
ขยายแหล่งประโยชน์ทางสุขภาพ
ส่งเสริมการสร้างพันธะสัญญา
เป้าหมายของการพยาบาลชุมชน
ป้องกัน+ควบคุมโรคระบาดในชุมชน
ป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อม
ป้องกันการบาดเจ็บ
ส่งเสริม+สนับสนุนให้ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพดี
รับผิดชอบในการช่วยเหลือ ฟื้นฟูเมื่อเกิดภัยพิบัติ
การประกัน+รับผิดชอบคุณภาพของการบริการ