Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผ้าขาวม้า :checkered_flag:, เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่ใช้มาแต่สมัยเชียงแสน…
ผ้าขาวม้า :checkered_flag:
ประวัติผ้าขาวม้า
ชาวอโยธยานิยมใช้ผ้าขาวม้าพาดบ่า คาดพุง หรือนุ่งโจงกระเบนแล้วใช้ผ้าขาวม้าคล้องคอตลบห้อยชายทั้งสองข้างไว้ด้านหลัง
มาจากภาษาเปอร์เซียคำว่า กะมัรบันด์
โดย กะมัร แปลว่า เอว และ บันด์ แปลว่า พัน แปลรวมกันว่าผ้าพันเอว
เรียกอีกอย่างว่า ผ้าเคียนเอว
ผ้าขาวม้าเป็นผ้าที่อำนวยความสะดวกให้กับคนไทยมาหลายศตวรรษ
โดยมากทอเป็นลายตารางเล็กๆ นิยมใช้ด้ายหลายสี
มีขนาดเท่ากับผ้าขาวม้าลายตารางหมากรุก
มีปรากฎให้เห็นจากภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ วัดภูมินทร์ จ. น่าน
สมัยรัตนโกสินทร์ชาวไทยทั้งชาย - หญิงนิยมใช้ผ้าขาวม้ามาทำประโยชน์กันมากยิ่งขึ้น โดยไม่จำกัดแต่เพียงเพศชายอย่างเดียวเหมือนในอดีต
บางท้องถิ่นจึงเรียกว่าผ้าแพรวา เรียกตามความยาวของผ้าแต่ละผืน
สีและลวดลายของผ้าขาวม้าจะแตกต่างกันไปตามความนิยมของท้องถิ่นโดยทางภาคกลาง ผ้าขาวม้าจะมีลวดลายเป็นตาลายสก๊อต และของภาคอีสานจะเป็นแบบตาเล็ก ๆ
ผ้าขาวม้ามีลักษณะเป็นผ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก
เป็นผ้าสำหรับผู้ชายใช้นุ่งแบบลำลอง ความกว้างจึงเท่ากับระยะจากเอวถึงกลางหน้าแข้ง ความยาวเท่ากับระยะพันรอบตัวแล้วเหลือเศษอีกเล็กน้อย
ความหมายของผ้าขาวม้า :star:
ผ้าฝ้ายทอเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า มักทอลายเป็นตาหมากรุก ใช้นุ่ง ผลัดอาบน้ำ โพกหัว หรือห่ม เป็นต้น, ผ้าขะม้า ก็เรียก
ประโยชน์ของผ้าขาวม้า :star:
ใช้นุ่งอาบน้ำ
ทำความสะอาดร่างกาย
ทำความสะอาดร่างกาย
ใช้ซับเหงื่อ
ปูรองนั่ง
นอนโพกศีรษะกันแดด
โพกศีรษะกันแดด
ผูกทำเปล
คาดเอว
ผ้าขาวม้าในพิธีและวิถี
ผ้าขาวม้าปฏิบัติหน้าที่ของมันตั้งแต่เราตื่นนอนจนหัวถึงหมอน ด้วยเหตุนี้เองจึงมีเรื่องของคติความเชื่ออันเกี่ยวโยงกับผ้าขาวม้าเกิดขึ้น
ในพิธีบวช ผ้าขาวม้าจะถูกใช้เป็นผ้ากราบลาบวชต่อผู้เฒ่าผู้แก่ ในขณะเดียวกันจะใช้เป็นผ้าประจุสำหรับผู้ที่จะลาสิกขา โดยให้พระลงคาถาแล้วใช้นุ่งห่มออกจากวัด ถือเป็นผ้ามงคลชิ้นแรกสำหรับพระสึกใหม่
“ผ้าห่อแฮ่-ผ้าแผ่เชิง-ผ้าสะเอิงกีบม้า-ผ้าไปค้าเสียห้าพันคำ-ผ้าก้องแขนคำเก้ากิ่ง-ผ้าแด่มิ่งมารดา-ผ้าปิตาปันให้-ผ้าได้แล้วห่มผีนอน”
คำแทกโสกนี้ถือเป็นการทำนายว่าผ้าจะดีหรือไม่ดีนั่นเอง
ตามความเชื่อของชาวอีสาน มีคำทำนายไว้ว่า ถ้ากำแทกโสกตกวรรคที่ 1-4 คือ “ผ้าห่อแฮ่-ผ้าแผ่เชิง-ผ้าสะเอิงกีบม้า-ผ้าไปค้าเสียห้าพันคำ” ทำนายว่าเป็นผ้าไม่ดี ไม่เป็นมงคล ถ้าตกวรรคที่ 6-7 คือ “ผ้าแด่มิ่งมารดา-ผ้าปิตาปันให้” จะเป็นผ้าดี มีคนนิยมชมชอบ ถ้าไปตกวรรคสุดท้ายคือ “ผ้าได้แล้วห่มผีนอน” เป็นผ้าไม่ดี ถ้าได้ไปอาจถึงกับล้มหมอนนอนเสื่อเลย จะเห็นได้ว่าสำหรับชาวอีสานนั้น ผ้าขาวม้าไม่ใช่แค่ผ้าสำหรับใช้งานเท่านั้น แต่เป็นเหมือนผ้าคู่ชีวิตเลยก็ว่าได้
สำหรับชาวอีสาน มีความเชื่อว่าการที่จะเลือกผ้าขาวม้าแต่ละผืนมาเป็นของคู่กายนั้น ต้องมีตำราในการเลือกผ้าเรียกว่า “โสก” หมายถึง โฉลก ถ้าดีจึงจะเรียกว่าถูกโฉลก ซึ่งต้องดูจากการวัดขนาดความยาวของผ้า โดยเจ้าของผ้าจะต้องกำผ้าจาก กก ถึง ปลาย หมายถึงชายผ้าข้างหนึ่งจรดความยาวชายผ้าอีกด้านหนึ่ง แล้วกล่าวคำแทกโสกไปตามลำดับที่กำ คำแทกโสกกล่าวว่า
ขั้นตอนการทำผ้าขาวม้า :star:
แบ่งออก 6 ขั้นตอน
1.นำเอาฝ้ายที่ซื้อมาแล้วมาใส่อักแล้วกวักออกมาให้ได้ฝ้ายเป็นปอยยาว ๆ
3.ผ้าขาวม้าตามที่จะทอความยาวประมาณ 1.50 เมตร แล้วนำไปใส่ในกี่ทอผ้าเมื่อเตรียมด้ายลายยืนเสร็จแล้ว นำมาเข้าฟืมแล้วดึงเส้นด้ายลายยืนให้ขึ้นลงขัดกับด้ายลายพุ่งในขั้นตอนการทอ
4.นำเส้นฝ้ายที่แบ่งตัดมาม้วนเป็นหลอดด้ายเพื่อนำไปในกระสวย
5.ทอฝ้ายจากเส้นให้เป็นผืนผ้าขาวม้าโดยใช้กระสวย เป็นตัววิ่งสลับไปมา ซ้าย-ขวา และในกระสวยจะมีม้วนฝ้ายสีต่างๆใส่ไว้ในกระสวย เพื่อสามารถเปลี่ยนสีฝ้ายได้ เช่น การทำแทบสีผ้าขาวม้า
6.ทอผ้าขาวม้าต่อไปเลื่อยๆจนเสร็จ เป็นผืนหน้ากว้าง 34 นิ้ว ความยาว 1.50 เมตรเป็นอันว่าเสร็จเรียบร้อยทอฝ้ายจากเส้นให้เป็นผืนผ้าขาวม้าโดยใช้กระสวย เป็นตัววิ่งสลับไปมา ซ้าย-ขวา และในกระสวยจะมีม้วนฝ้ายสีต่างๆใส่ไว้ในกระสวย เพื่อสามารถเปลี่ยนสีฝ้ายได้ เช่น การทำแทบสีผ้าขาวม้า
2.นำฝ้ายที่กวักแล้วมาค้นเครือเพื่อที่จะให้ได้ตามขนาดของผ้า
ผ้าขาวม้ามีกี่ประเภท :<3:
แบ่งออกได้เป็น 4 รูปแบบ :confetti_ball:
ลายตาหมากรุก หรือลายตามะกอก ลายตารางใหญ่ ลักษณะของลายผ้าตารางสี่เหลี่ยมจัตุรัสแบบกระดานหมากรุก มีสีสลับกัน ในอดีตเป็นที่นิยมมาก สีที่นิยมคือ สีแดง เขียว ดำ ขาว
ลายตาเล็ก ลักษณะคล้ายลายตาหมากรุกแต่มีขนาดเล็กกว่า
ลายไส้ปลาไหล ลักษณะเป็นลายตารางในแนวยาว
ลายตาหมู่ เป็นการผสมผสานลายตาเล็กและลายไส้ปลาไหลเข้าด้วยกัน
เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่ใช้มาแต่สมัยเชียงแสน
จากหลักฐานภาพเขียนในสมุดภาพ "ไตรภูมิสมัยอยุธยา" ราวต้นศตวรรษ ที่ 22 จะเห็นได้ว่าชาวอโยธยานิยมใช้ผ้าขาวม้าพาดบ่า