Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย - Coggle Diagram
บทที่ 6 การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ความหมายของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
หมายถึง กลุ่มหรือบุคคลที่มีผลกระทบหรือ ได้รับผลกระทบจากกิจกรรมทั้งหมดขององค์กร และเป็นบุคคล หรือกลุ่มบุคคลที่ช่วยกำหนด คุณค่าให้กับองค์กร
ประโยชน์ของการเชื่อมโยงผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
1.สามารถนำไปสู่การพัฒนาสังคมอย่างเท่าเทียมและยั่งยืนกว่า
2.ก่อให้เกิดการผสมผสานรวมกันของทรัพยากร
3.ก่อให้เกิดความเข้าใจในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจที่สลับซับซ้อน
4.ทำให้องค์กรสามารถเรียนรู้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
5.ให้ข้อมูลความรู้ และสร้างอิทธิพลต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
6.สร้างความเชื่อถือระหว่างองค์กรกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ประเภทของผู้มีส่วนได้เสีย
1.คู่แข่ง (Competitor)
ผู้บริโภค (Consumer)
3.พนักงาน (Emplate)
4.ผู้ผลิตสินค้า (Supplier)
5.ผู้มีส่วนได้เสียรอง (Second stakeholder)
พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของผู้บริโภค
ระดับการบริโภค (Consuming)
ระดับการบริโภค (Consuming)
3.ระดับการร่วมกันสร้างสรรค์ (Co-Creation)
การศึกษาการดำเนินชีวิตของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ธุรกิจส่วนใหญ่ได้ดำเนินการผนวกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการดำเนินธุรกิจ โดยการกำหนดผู้มีส่วนได้เสีย และวิธีการมีส่วนร่วมนั้น ขึ้นอยู่กับระดับความสำคัญและผลกระทบที่มีต่อกัน
กระบวนการการสร้างโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
1.การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจ
2.การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและร่วมกันปฏิบัติการ
3.การมีส่วนร่วมด้วยประโยชน์ที่เกิดขึ้นและได้รับ
4.การมีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบ
มิติของการมีส่วนร่วมของแบรนด์
1.การรับรู้ (Perception)
2.การสื่อสาร (Communication)
3.ประสบการณ์ (Experience)
4.คำมั่นสัญญา (Promise)
ผู้มีส่วนได้เสียกับแบรนด์ (Brand Stakeholders)
ลักษณะเฉพาะของสายสัมพันธ์เปรียบได้กับสินค้าและบริการอย่างหนึ่ง ซึ่ง จะทำหน้าที่แบ่งแยกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มออกจากกัน เพราะ จะเป็นตัวกำหนดว่าอะไรคือคุณค่าเฉพาะที่แบรนด์มีต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย หรือที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต้องการจากแบรนด์
ผู้มีส่วนได้เสียกับแบรนด์ (Brand Stakeholders)
กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
2.กลุ่มผู้มีส่วน ส่วนเสียภายนอก