Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และ การสอนร่วมสมัย, ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory…
ทฤษฎีการเรียนรู้และ
การสอนร่วมสมัย
ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)
เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
Klausmeier กล่าวว่าสมองของมนุษย์สามารถเรียนรู้ได้เหมือนการทางานของคอมพิวเตอร์ โดยมีขั้นตอนการทางาน 3 ขั้นตอนดังนี้
การรับข้อมูล (input)
การเข้ารหัส (encoding)
การส่งข้อมูลออก (output)
ฺBrain = Computer
Input
Encoding = software
Output
รับรู้จากประสาทสัมผัสทั้ง 5 Short Term Memory
Recognition=รู้จัก
Atention = สนใจ
Long Term Memory อาจลืมแต่สามารถเรียกคืนได้
Semantic memory ความหมาย วันเวลา
Affective Memory = Emotion ความประทับใจ ความสูญเสีย เหตุการ์ณ
ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)
ทฤษฎีพหุปัญญาคิดค้นขึ้นโดย Dr. Howard Gardner ในปี คศ. 1983 เพื่อชี้ชัดถึงมโนทัศน์ของความฉลาด และแจกแจงวิธีวัดความฉลาด ซึ่งมีหลากหลาย (ภาษาไทยเรียกพหุปัญญา) ว่าเป็นวิทยาศาสตร์อย่างแท้จริง
ประเภทของพหุปัญญาตามการจำแนกของ Gardner (เชาวน์ปัญญา 8 ด้าน)
ด้านดนตรี
ด้านมิติสัมพันธ์
ด้านภาษา
ด้านคณิต
ด้านร่างกายและการเคลื่อนไหว
ด้านมนุษยสัมพันธ์
ด้านการเข้าใจตนเอง
ด้านธรรมชาติ
ความฉลาดในการใคร่ครวญ
ความสามารถในการแก้ปัญหา
เปลี่ยนแปลงได้ตลอกเวลาหากมีการกระตุ้น
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism)
หลักการสำคัญของทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
1.Construction ผู้เรียนสร้างความรู้ความเข้าใจเอง
ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดความไม่สมดุลขึ้น เช่น ครูถามแล้วรอคำตอบให้คิด จนเกิดกระบวนการเรียนรู้
เน้น Active Learning แลกเปลี่ยนเรียนรู้
บทบาทผู้สอน
Authentic assessment 360 องศา
Motivation
ให้หาความรู้ด้วยตนเอง
เป็น Facilitator
Participants
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructionism)
บทบาทผู้เรียนที่ทำไปและเรียนรู้ไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
แก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล
มีความสมัครใจอยากทำ
มีความคิดเป็นของตนเอง
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
Constructivism ปรับจาก PIAJET เน้นคิดเอง ทำเอง สร้างสรรค์ชิ้นงาน
INNOVATION
ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเรียนรุ้
ใช้ IT
ให้ทำในสิ่งที่สนใจ
สร้างสิ่งแวดที่มีบรรยากาศหลากหลาย
ครู FACILITATOR
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)
เลิศชาย ปานมุข ได้กล่าวถึงทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Theory of Cooperative or Collaborative Learning)ไว้ว่า แนวคิดของทฤษฏีนี้ คือ การเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อยโดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถแตกต่างกันประมาณ 3 - 6 คน ช่วยกันเรียนรู้เพื่อไปสู่เป้าหมายของกลุ่ม
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐาน
ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ลำดับขั้นของการเรียนรู้
ในกระบวนการเรียนรู้ของคนเรานั้น จะประกอบด้วยลำดับขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญ 3 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
ประสบการณ์ (experiences)
ความเข้าใจ (understanding)
ความนึกคิด (thinking)