Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผ้าขาวม้า - Coggle Diagram
ผ้าขาวม้า
-
การแปรรูปผ้าขาวม้า
-
-
-
-
-
-
:star:ปัจจุบันกระแสการนุ่งผ้าไทยกำลังได้รับความนิยม มีการนำผ้าไทยมานุ่งและประยุกต์ผ้าไทยตัดเย็บเป็นแบบทันสมัย สวมใส่ไว้ทำงาน หรือนำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กระเป๋า เป็นต้น
-
ขั้นตอนการทำผ้าขาวม้า
-
:black_flag:นำฝ้ายที่กวักแล้วมาค้นเครือเพื่อที่จะให้ได้ตามขนาดของผ้าขาวม้าตามที่จะทอความยาวประมาณ1.50เมตร แล้วนำไปใส่ในกี่ทอผ้า
:black_flag:เมื่อเตรียมด้ายลายยืนเสร็จแล้ว นำมาเข้าฟืมแล้วดึงเส้นด้ายลายยืนให้ขึ้นลงขัดกับด้ายลายพุ่งในขั้นตอนการทอ ซึ่งฟืมจะมีจำนวนตามลายเป็นลายด้ายยืนว่าต้องการให้เป็นลายดอกหรือลายขัดธรรมดาเมื่อต่อเสร็จครบทุกเส้นแล้ว นำไปขึ้นกี่เพื่อเตรียมทอ
-
:black_flag:ทอฝ้ายจากเส้นให้เป็นผืนผ้าขาวม้าโดยใช้กระสวย เป็นตัววิ่งสลับไปมา ซ้าย-ขวา และในกระสวยจะมีม้วนฝ้ายสีต่างๆใส่ไว้ในกระสวย เพื่อสามารถเปลี่ยนสีฝ้ายได้ เช่น การทำแทบสีผ้าขาวม้า
:black_flag:ทอผ้าขาวม้าต่อไปเลื่อยๆจนเสร็จ เป็นผืนหน้ากว้าง34นิ้ว ความยาว 1.50 เมตรเป็นอันว่าเสร็จเรียบร้อย
-
ความหมายของผ้าขาวม้า
ผ้าขาวม้า เป็นผ้าสารพัดประโยชน์ที่คนไทยใช้มาแต่โบราณ ส่วนใหญ่ผู้ใช้จะเป็นเพศชาย สามารถใช้นุ่งอาบน้ำ เช็ดตัว คลุมหัวกันแดด หรือทำเปลก็ได้ บ้างก็เรียกว่า "ผ้าเคียนเอว"
ผ้าขาวม้ามีลักษณะเป็นผ้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ความกว้างประมาณ 2 ศอก ยาวประมาณ 3-4 ศอก เป็นผ้าสำหรับผู้ชายใช้นุ่งแบบลำลอง ความกว้างจึงเท่ากับระยะจากเอวถึงกลางหน้าแข้ง ความยาวเท่ากับระยะพันรอบตัวแล้วเหลือเศษอีกเล็กน้อย
โดยมากทอเป็นลายตารางเล็กๆ นิยมใช้ด้ายหลายสี อย่างไรก็ตาม ผ้าสีเดียว ที่มีขนาดเท่ากับผ้าขาวม้าลายตารางหมากรุกแบบนี้ หากนำมาใช้นุ่งสำหรับผู้ชาย ก็นิยมเรียกผ้าขาวม้าเช่นกัน ผ้าขาวม้าในประเทศไทยมีชื่อเรียกแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับท้องถิ่น
ผ้าขาวม้าในพิธีและวิถี
:red_flag:ผ้าขาวม้าปฏิบัติหน้าที่ของมันตั้งแต่เราตื่นนอนจนหัวถึงหมอน ด้วยเหตุนี้เองจึงมีเรื่องของคติความเชื่ออันเกี่ยวโยงกับผ้าขาวม้าเกิดขึ้นในพิธีบวช
:red_flag: ผ้าขาวม้าจะถูกใช้เป็นผ้ากราบลาบวชต่อผู้เฒ่าผู้แก่ : ในขณะเดียวกันจะใช้เป็นผ้าประจุสำหรับผู้ที่จะลาสิกขา โดยให้พระลงคาถาแล้วใช้นุ่งห่มออกจากวัด ถือเป็นผ้ามงคลชิ้นแรกสำหรับพระสึกใหม่