Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผลเปปติก (Peptic ulcer) - Coggle Diagram
แผลเปปติก (Peptic ulcer)
-
การรักษา
ควรได้รับการรักษาด้วยยา ยกเว้นมีข้อบ่งชี้ให้ทำการผ่าตัด
ในช่วงที่มีอาการ Peptic ulcer ควรหลีกเลี่ยงหรืองดอาหารรสจัด
การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และการรับประทานยาที่ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
- ยายับยั้งการหลั่งกรด (Antisecretory drugs) ยากลุ่มนี้ออกฤทธิ์ต่อต้านหรือยับยั้งการหลั่งกรดของกระเพาะอาหาร
2.1 Histamine H, receptor antagonists ยากลุ่มนี้สามารถเลือกจับเฉพาะ H receptor ที่Parietal cell ของเยื่อบุกระเพาะอาหาร มีฤทธิ์ลดการหลั่งกรดที่เกิดจากการกระตุ้นของ Histamine, Prostaglandin.Insulin. Cafeine และอาหารที่รับประทาน
2.3 Substituted benzimidazole/Proton pump inhibitor (PPI) เช่น Omeprazole(Losec) มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด โดยการยับยั้งเอนไซม์ K / H ATPase ที่ Secretory membrane ของParietal cell ที่กระเพาะอาหารซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการคัดหลั่งโดยตรง สามารถลดกรดได้มาก
2.4Antigastrin เช่น Proglumide (Milid) มีฤทธิ์ต้าน Gastrin ทำให้การหลั่งน้ำย่อยอาหารเป็นไปตามปกติแต่การหลั่งกรดลดลงเล็กน้อย
2.2.1 Conventional Antimuscarinic เช่น Atropine, Oxyphencyclimine, Propantheline.Oxyphenonium ยากลุ่มนี้สามารถลดการหลั่งกรดในระดับพื้นฐานได้ประมาณร้อยละ 50 และลดการหลั่งกรดที่เกิดจากการกระตุ้นของ histamine, gastin, prostaglandin, insulin ได้ประมาณร้อยละ 35
-
2.2.2 Selective Antimuscarinics เช่น Pirenzepine ออกฤทธิ์ ต้านCholinergic เฉพาะ
ที่โดยจับกับ Muscarinic M, receptorที่ Parietal cell ซึ่งจะช่วยลดการหลั่งกรดและน้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
ยาลดกรดสามารถลบล้าง (Neutralize) ความเป็นกรดและลดฤทธิ์ของ Pepsin โดยเพิ่ม pH ในกระเพาะ (เปลี่ยนภาวะกรดให้เป็นด่าง) ซึ่งการเพิ่ม pH ขึ้นกับขนาดยาที่ให้ คือถ้าต้องการเพิ่ม pH ในกระเพาอาหารอย่างมีประสิทธิภาพจะต้องให้ Antacids ทุก 1-2 ชม.
- ยาที่มีฤทธิ์เพิ่มความด้านทานของเยื่อบุ (Cytoprotective drug) ยาในกลุ่มนี้ออกกระเพาะอาหารจากสารระคายเคืองโดยวิธีเคลือบ หรือจับกับเนื้อเยื่อที่ตายแล้วของแผลเป็นด้านป้องกันการซึมผ่านของกรด ยับยั้งฤทธิ์ของ Pepsin และกรดน้ำดีหรือออกฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งของสารเยื่อเมือก
- ยากำจัดเชื้อ Helicobacter pylori การติดเชื้อ H. pyion
มีผลทำให้เกิดกระเพาะอาหารอักเสบและแผลเป็ปติกได้
ยากำจัดเชื้อที่เป็นสูตรยาอันดับ1 ได้แก่ การให้ Triple therapy ด้วย PPI (หรือ ranitidine bismuth citrate) + Amoxiclin (หรือ Metronidazole) + Clarthromycin เป็นเวลา 7 วัน ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อกว่าร้อยละ 90
การให้การพยาบาล
-
ผู้ป่วยมีโอกาสกลับไปเป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ซ้ำทวีความรุนแรงขึ้น เนื่องจากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมหรือขาดการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
- อธิบายให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องในเรื่องการรับประทานอาหาร เช่น ควรรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ไม่รับประทานอาหารรสจัด การดื่มเครื่องดื่มชนิดต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำอัดลม
- แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ จะกระตุ้นให้อาการของโรคเป็นมากขึ้น
3.ชี้แจงให้ผู้ป่วยเห็นความสำคัญของการรับประทานยาที่แพทย์สั่งอย่างต่อเนื่อง และการมาตามแพทย์นัด เพื่อให้พยาธิสภาพของโรคในทางเดินอาหารหายดีหรือไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
-
ผู้ป่วยมีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีแผลในกระเพาะอาหารเเละลำไส้
หลักการพยาบาล
- ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารตามแผนการรักษา
- ดูแลให้ผู้ป่วยทำความสะอาดปากฟันก่อนและหลังรับประทานอาหารทุกครั้ง
- แนะนำให้ญาตินำอาหารที่ผู้ป่วยชอบ ซึ่งไม่ขัดกับแผนการรักษามาให้เสริมระหว่างมื้อ
-
-
-
-
-
- ถ้าแพทย์อนุญาตให้ผู้ป่วยกลับบ้านแนะนำอาหาร การดื่มเครื่องดื่มชนิดต่างๆ การรับประทานยา ให้ผู้ป่วยเข้าใจ เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
การวินิจฉัย
ผู้ป่วยมีโอกาสได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจากมีแผลในกระเพาะอาหารเเละลำไส้
ข้อมูลสนับสนุน
-ประวัติผู้ป่วยรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา รับประทานอาหารรสจัด ชอบดื่มน้ำอัดลมหรือสูบบุหรี่เป็นประจำ หรือชอบซื้อยาแก้ปวดเมื่อยมารับประทานเอง หรือกินยาลูกกลอน
-
-
-
-
-ผลการตรวจพิเศษในทางเดินอาหาร พบพยาธิสภาพในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้นเป้าหมาย ผู้ป่วยได้รับสารอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
-ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม เช่น รับประทานอาหารเป็นเวลา ไม่รับประทานอาหารรสจัด หลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟ สุรา เลิกสูบบุหรี่ ไม่ซื้อยาแก้ปวดเมื่อยมารับประทานเอง
-
-
-
-
-
ผู้ป่วยมีโอกาสกลับเป็นแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ซ้ำทรีอรุนแรงขึ้น เนื่องงจากมีพฤติกรรมสุขภาพไม่เหมาะสมหรือขาดการติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ข้อมูลสนับสนุน
-
-
-
-
-
-
-
-ผู้ป่วยไม่มาติดตามการรักษาตามที่แพทย์นัดมาย ผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม และอาการของแผลในกระเพาะอาหารลำไส้ไม่กำเริบหรือไม่รุนแรงขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
-
-
-
-
-ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมโดยสามารถตอบได้ว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรบ้าง
-
-
พยาธิสภาพ
แผลในกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นความผิดปกติในทางเดินอาหารส่วนบน ซึ่งมีการทำลายหรือเกิดแผลบริเวณเยื่อบุหลอดอาหารส่วนล่าง กระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้น ซึ่งการทำลายทำให้ชั้นใต้เยื่อบุสัมผัสกับกรดและเป็ปซินแล้วเกิดการย่อยตัวเอง มีการทำลายเยื่อบุผิว ตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนเกิดเป็นแผลรุนแรง