Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบกล้ามเนื้อ(The Muscular System) - Coggle Diagram
ระบบกล้ามเนื้อ(The Muscular System)
กล้ามเนื้อลาย(skeletal mascle)
เซลล์ของกล้ามเนื้อมีทรงกระบอกเรียวยาว
อยู่ในอำนาจจิตใจ
ภายในเซลล์พบนิวเคลียสรูปไข่หลายอัน -
มีทั้ง972มัดคือ40%ของน้ำหนักตัว
โครงสร้างของกล้ามเนื้อ
Myofilament
เส้นใยบาง(Thin filament)
Tropomyosin
มีลักษณะเส้นใย2เส้นพันกันเป็นเกลียว
Troponin มีลักษณะกลม
Troponin-l เป็นหน่วนที่คอยป้องกันการเกิดสะพานเชื่อม
Troponin-cเป็นหน่อยที่รวมกับCa2+
Tropomin-Tเป็นหน่วนที่รวมกับTropomyosin
Actin
F-actinส่วนที่พับเป็นเกลียว
โมเลกุล polypeptine
G-actin
ส่วนที่จับกันเป็นก้อนทำหน้าที่จับกับ head ของmyosis
เส้นใยหนา(Thick filament)
เส้นใยของโปรตีนชนิดหน้า2สาย
เส้เส้นใหญ่ของโปรตีนชนิดเบา เป็นหัวข้งไมโอซิน
โครงสร้างอื่นๆที่ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ
1.sarcoplasmic reticulum SR
ทำหน้าที่ทำหน้าที่สะสมแคลเซียม
2.Transverse Tubuiar System
T-Tubule
นำสัญญาณประสาทเข้าสู่ Triad
ซึ่ซึ่งจะเหนียวนำการหลังแคลเซี่ยมไอออนจากSR
เข้าในเซลล์
เรียกการเรียกกล้ามเนื้อ
ตามขนาด
Maximus,Minimas
Longus,Brevis
Major,minor
3.ตามรูปร่าง
Deltoid(triangle)
Trapezius(Trapezoid)
Plamaris iongus( long)
Palmaris brevis (short)
5.จำนวนจุดเกาะต้น
เช่นกล้ามเนื้อ biceps 2หัว กล้ามเนื้อ
triceps3หัวเเละกล้ามเนื้อ quadriceps4หัว
2.การจัดเรียงใยกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตรงชื่อ rectus
กล้ามเนื้อที่วางตรงแนวตามเฉียงชื่อobili que
กล้ามเนื้อที่วางตัวในแนวตามขวางชื่อ transverse
6.หน้าที่การทำงาน
เช่นflexor,extensor,abductor,rotator
1.ตำแหน่งที่ตั้ง
เช่น Temporalis,lntercostal anterior
7.ตามตำแหน่งความสำคัญ
เช่นกล้ามเนื้อที่อยู่บริเวณภายนอกหรือบริเวณผิวหรือกล้ามเนื้อที่อยู่ลึก
8.ตามจุดเกาะต้นหรือตามจุดเกาะปลาย
ชื่อหน้าบอกตำแหน่ง. เกาะต้นและชื่อหลังจะบอกตำแหน่ง. เกาะปลายเช่น
Sternocleidomastoid
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
โครงสร้โครงสร้างของกล้ามเนื้อเรียบ
SE เจริญไม่ดีในกล้ามเนื้อลาย
ไม่มีT-tubuleเเละไม่พบ Triad
ไม่มีลายให้เห็น
Nucleus อยู่ตรงกลางเซลล์หนึ่งอัน
เซลล์รูปร่างคล้ายกระสวย
การควบคุมเส้นประสาทและฮอร์โมน
มีเส้นใยประสาทของระบบอัตโนมัติมาเลี้ยง
ควบคุมโดยสารเคมีที่ใช้ระหว่างเซลล์เช่น
อะเซทิลโคลีนเเบะนอร์อิฟิเนฟริน
ไม่มีแผ่นปลายมอเตอร์ ไม่เหมือนกับกล้ามเนื้อลาย
พบที่
•ผนังของอวัยวะในระบบไหลเวียนเลือด
•ระบบทางเดินอาหาร
•ระบบทางเดินปัสสาวะ
•ระบบทางเดินหายใจ
•ระบบสืบพันธุ์
•กล้ามเนื้อขนตาและม่านตา
•ที่ที่ผิวหนังตามท่อตามต่อมต่างๆ
กล้ามเนื้อมัดต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อที่แสดงสีหน้า
กล้ามเนื้อรอบตา
Corrugator supercilli ทำหน้าที่ขมวดคิ้ว
Orbicularis oculiทำหน้าที่หลับตากระพริบตา
กล้ามเนื้อรอบจมูก
Nasalis ประกอบด้วย2ส่วน
•transverse part ทำให้รูจมูกเเคบ
•alar part ทำให้รูจมูกกว้างขึ้น
กล้ามเนื้อของศรีษะ
Frontalis ทำหน้าที่ยักคิ้วและยนหน้าผาก
Occuipitalisทำหน้าที่ดึงหนังศรีษะไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อรอบปาก
Leva lability superioris
ทำหน้าที่ดึงริมฝีปากขึ้นเพื่อช่วยในการเปิดปากแล้วทำให้รูจมูกผายออก
Risoius
ทำหน้าที่ดึงมุมปากขึ้นบนและไปด้านข้างเวลายิ้มหรือหัวเราะ
Orbicularis oris
ทำหน้าที่เม้มริมฝีปากหรือหุบปาก
Depressor labor inferioris
ทำหน้าที่ดึงริมฝีปากล่างลง
Levator Anguilla oris
ทำหน้าที่ยกมุมปากขึ้นให้เห็นฟันขณะยิ้ม
Deperssor annuli oris
ทำหน้าที่ดึงมุมปากมาด้านล่าง
Mentais
ทำหน้าที่ย่นคาง
กล้ามเนื้อภายในเท้า
กล้ามเนื้อด้านหลังเท้า
Extensor digitorum brevis
ทำหน้าที่เหยียดข้อต่อ
metatarsophalanggealข้อนิ้วที่1
กล้ามเนื้อฝ่าเท้า
2.2กล้ามเนื้อชิ้นที่2ของฝ่าเท้า
2.2.1Quadratus plantae ทำหน้าที่ร่วมกับflexor digitorum longus ในการงอนิ้วที่2-5
2.2.2Lumbricals(foot) ทำหน้าที่งอและเหยียดของนิ้วเท้า2-5
2.1กล้ามเนื้อชิ้นที่1ของฝ่าเท้า
2.1.3Abdctor digiti minimi(foot)ทำหน้าที่กางเเละงอนิ้วที่5
2.1.2 Flexor digtorum brevis ทำหน้าที่งอนิ้วที่2-5
2.1.1Abdctor hallucinate ทำหน้าที่งอเเละกางห้อเเม่มือ
กล้ามเนื้อของก้น
obturatorexternus
Piriformis
ทำหน้าที่หมุนต้นขาออกด้านนอก
Tensor fascia lata
ทำหน้าที่กางเเละงอต้นขา
Gluteus medius
ทำหน้ากางเเละหมุนต้นขาเข้าด้านใน
Gluteus Maximus
ทำหน้าที่กางเเละเหยียดต้นขา
กล้ามเนื้อหัวใจ
ชนิดของกล้ามเนื้อหัวใจ
2.กลุ่มเซลล์เพซเมคเกอร์
ทำหน้าที่ผลิตศักย์ทำงานได้เองและส่งสัญญาณไฟฟ้าไปกระตุ้นเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่หดตัว
กลุ่มเซลล์นำไฟฟ้าชนิดพิเศษ
ทำหน้าที่นำสัญญาณไฟฟ้าไปสู่ส่วนของหัวใจได้แก่
bundle of HisและPunkinie fiber
1.เซลล์ทำหน้าที่หดตัว
พบที่ผนังทั้ง4ห้อง
เส้นประสาท มาเลี้ยงและควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจคือประสาทอัตโนมัติทั้งประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก