Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน, 076 ศิริพร…
แนวคิดและกลวิธีการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การพัฒนาบ้านเมืองให้มั่นคงมีความเจริญต้องพัฒนา “คน” ให้ถึงพร้อมทั้งด้านวิชาการ และ ศิลปะ ศีลธรรมจรรยา
มี “ความสุข ความ พอใจของทุกคน” เป็นจุดมุ่งหมาย
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการนำไปใช้
การดำเนินการพัฒนาตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจักนำไปสู่
การพัฒนาเศรษฐกิจของตนเองและประเทศชาติมั่นคง
การอยู่ร่วมกันในสังคมเกิดวามเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน
การดำรงชีวิตที่สมดุลมีความสุขตามอัตภาพ
หลักเศรษฐกิจพอเพียง
ความมีเหตุผล
การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว
ความพอประมาณ
พระราชบัญญัติการศึกษาไทย วิสัยทัศน์ประเทศ
ความสัมพันธ์ระหว่างการศึกษากับสังคม
การศึกษาในฐานะเป็นกระบวนการสังคมประกิต
การศึกษาในฐานะเป็นสถาบันทางสังคม
การศึกษาในฐานะเป็นระบบของสังคม
การศึกษาเป็นเครื่องมือเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมเป็นตัวกำหนดระบบการศึกษา
การศึกษากับการพัฒนาประเทศ
การพัฒนาการเมือง
การพัฒนาเศรษฐกิจ
การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรม
ปฏิรูปการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
พิจารณาแบบองค์รวมในแง่ของการมีส่วนร่วม
เชื่อมโยงสิ่งที่เกิดขึ้นบนความหลากหลายของระบบเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน
เปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการพัฒนา
พัฒนาความสามารถ ในการแข่งขันบนพื้นฐานของทรัพยากรของตนเอง
ให้ความสำคัญกับ ความต้องการของทุกฝ่าย
กลยุทธ์ในการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ครูและบุคลากรทางการศึกษาจะต้องพัฒนาให้เป็นผู้ที่มีทั้งความรู้และความสามารถและเทคนิควิธีในการปฏิบัติวิชาชีพ
พัฒนากระบวนการเรียนการสอน เป็นกระบวนการนำหลักสูตรไปปฏิบัติจริง
การพัฒนาหลักสูตรจะต้องได้รับการพัฒนาให้เป็นหลักสูตรที่มุ่งพัฒนาผู้เรียน
ปรับปรุงระบบการบริหารการศึกษา เป็นกระบวนการส่งเสริมสนับสนุนอำนวยความสะดวกทางการศึกษา
การขับเคลื่อนสถานศึกษาพอเพียงสู่ความยั่งยืน
พัฒนาคุณภาพการเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาตามแนวพระราชดำริ
ปฏิบัติตนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เน้นการค้นหาแบบอย่างการปฏิบัติที่มีคุณภาพ
จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
076 ศิริพร