Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึ…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์
ฟาน ฟลีต หรือวัน วลิต
จดหมายเหตุฟาน ฟลีต
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา
เข้ามาติดต่อค้าขายในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
บันทึกเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองไทยสมัยอยุธยา
ซิมง เดอ ลาลูแบร์
จดหมายเหตุ ลาลูแบร์ราชอาณาจักรสยาม เป็นข้อมูลเกี่ยวกับสภาพสังคม
เศรษฐกิจ วิถีชีวิต และราชส านักไทยสมัยอยุธยา
เดินทางเข้ามาสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช
นิโกลาส์แชรแวส
ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม ให้ข้อมูลด้าน
ภูมิศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาไทย ศาสนา
เดินทางเข้ามาสัมพันธไมตรีในสมัยสมเด็จพระนารายณ์
มหาราช
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์เข้ามาเผยแผ่ศาสนาและพำนักในสมัยรัชกาลที่ ๓
เล่าเรื่องกรุงสยาม เป็นเรื่องเกี่ยวกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมสมัย
รัตนโกสินทร์ตอนต้น
เฮนรี เบอร์นีย์
เฮนรี เบอร์นีย์เดินทางมาเจรจาทางการทูตสมัยรัชกาลที่ ๓
เอกสารเบอร์นีย์เป็นข้อมูลความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับอังกฤษ
เซอร์จอห์น เบาว์ริง
เซอร์จอห์น เบาว์ริง เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีสมัยต้นรัชกาลที่ ๔
ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม ให้ข้อมูลเกี่ยวกับประเทศไทยในอดีต ด้านภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา ศาสนาและเศรษฐกิจ
ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ศิลปินชาวอิตาลี
ออกแบบปั้นและควบคุมการหล่อพระบรมราชานุสาวรีย์ และอนุสาวรีย์ที่สาคัญ
ออกแบบพระศรีศากยะทศพลญาณ พระพุทธรูปปางลีลา
ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากร
นายริโกลี จิตรกรชาวอิตาลี
ภาพจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคม
ภาพจิตรกรรมพระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
นายคาร์ล ดอริง สถาปนิกชาวเยอรมัน
ตำหนักบางขุนพรหม
พระรามราชนิเวศน์
หมอบรัดเลย์
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรกๆ ที่เดินทางเข้ามาเผยแผ่ศาสนา ในสมัยรัชกาลที่ ๓ และวิธีการทาการผ่าตัดมาใช้ในประเทศไทยเป็นครั้งแรก นอกจากนี้ ยังเผยแพร่เรื่อง การปลูกฝีและฉีดวัคซีน
หมอเฮาส์
เป็นมิชชันนารีชาวอเมริกันที่ได้รักษาคนไข้ในช่วงที่เกิดอหิวาตกโรคระบาดนอกจากนี้ยังเป็นแพทย์คนแรกที่นาวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมาใช้ในประเทศไทย
จอร์จ บี. แมคฟาร์แลนด์
เป็นแพทย์ด้านการทาฟันและเป็นอาจารย์สอนนักเรียนแพทย์ฝึกหัดชาวไทย พร้อมกับเปิดคลินิกรักษาโรคฟัน ได้รับบรรดาศักดิ์เป็น พระอาจวิทยาคม
ดร.ซามูแอล อาร์. เฮาร์และศาสตราจารย์สตีเวน แมตทูน
ได้เปิดโรงเรียนสาหรับเด็กชายที่สาเหร่ ซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็นโรงเรียนชายแห่งแรกของไทยหรือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนในปัจจุบัน
นางแฮร์เรียต เฮาร์
ได้เปิดโรงเรียนสาหรับเด็กหญิงแห่งแรกในประเทศไทย ชื่อโรงเรียนกุลสตรีวังหลัง ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ต
ชาวฝรั่งเศสได้ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฎาจารย์ ฟ. ฮีแลร์
เป็นผู้มีบทบาทสาคัญในการจัดการศึกษา
ทำให้มีการสร้างโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยคณะภารดาเซนต์คาเบรียลหลายแห่ง
นาย วีรภัทร ตาเร็ว ม4/1 เลขที่17