Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พื้นฐานนาฏศิลป์ไทย, อ้างอิง, image, image, image, image, image, image,…
พื้นฐานนาฏศิลป์ไทย
รูปเเบบของนาฏศิลป์
ระบำ
หมายถึง ศิลปะการร่ายรำที่แสดงพร้อมกันเป็นหมู่ ไม่ดำเนินเรื่องราว ใช้เพลงบรรเลง อาจมีเนื้อร้องหรือไม่มีเนื้อร้องก็ได้ เน้นการแปรแถวในลักษณะต่าง ๆ อย่างมีระเบียบงดงามและเน้นความพร้อมเพียงเป็นหลัก
-
รำ
หมายถึง การแสดงท่าทางการเคลื่อนไหวร่างกายประกอบจังกวะเพลงร้องหรือเพลงบรรเลงจะเป็นศิลปะการรำเดี่ยว รำคู่ รำประกอบเพลง รำอาวุธ รำทำบทหรือรำใช้บท โดยเน้นท่วงท่าลีลาการร่ายรำที่งดงาม
-
ฟ้อน
หมายถึง ระบำที่มีนักแสดงพร้อมกันเป็นหมู่ เป็นศิลปะการร่ายรำที่มีลีลาเฉพาะในท้องถิ่นล้านนา ที่เป็นการเคลื่อนไหวแขน ขา ยืดยุบเข่าตามจังหวะ เพื่อความอ่อนช้อยสวยงาม
-
เซิ้ง
หมายถึง การร้องรำทำเพลงแบบพื้นเมืองอีสาน ลีลาและจังหวะการร่ายรำจะรวดเร็วกระฉับกระเฉงส่วนใหญ่การเซิ้งจะใช้สำหรับนำกระบวนแห่ต่าง ๆ
-
ละคร
หมายถึง การแสดงเป็นเรื่องราว โดยนำภาพจากประสบการณ์และจิตนาการของมนุษย์มาผูกเป็นเรื่อง มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงอารมณ์ความรู้สึกก่อให้เกิดความบันเทิง และความสนุกสนาน เพลิดเพลินโดยมีนักแสดงเป็นผู้สื่อความหมาย และเรื่องราวต่อผู้ชม
โขน
หมายถึง ศิลปะการแสดงนาฏศิลป์ของไทยรูปแบบหนึ่ง อากัปกิริยาของตัวละครจะมีทั้งการรำ และการเต้นที่ออกท่าทางเข้ากับดนตรี นักแสดงจะถูกสมมติให้เป็นตัวยักษ์ ตัวลิง มนุษย์ เทวดา โดยการสวมหน้ากากหรือเรียกว่า “หัวโขน” ส่วนนักแสดงเป็นมนุษย์ และเทวดาจะไม่สวมหัวโขน การแต่งกายแต่งยืนเครื่องครบถ้วนตามลักษณะของยักษ์ ลิง มนุษย์ นักแสดงไม่ต้องร้องหรือเจรจาเอง เพราะจะมีผู้พากย์เจรจาขับร้องแทน
-
-
-
-
-
-
ความหมายของนาฏศิลป์
นาฏศิลป์ มาจากคำว่า “นาฏ” กับคำว่า “ศิลปะ”
ศิลปะ คือ การแสดงออกมาให้ปรากฏขึ้นอย่างงดงาม น่าพึงชมก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจ
-
สรุปได้ว่า “นาฏศิลป์” คือ ศิลปะการร้องรำทำเพลงที่มนุษย์เป็น ผู้สร้างสรรค์โดยประดิษฐ์ขึ้นอย่างประณีตและมีแบบแผน
ให้ความรู้ความบันเทิง
ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญที่ยังคงให้เห็นถึงวัฒนธรรมความรุ่งเรืองของชาติได้เป็นอย่างดี
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-