Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ, นางสาวบุญยานุช รัตนมณี ม4/9 เลขที่26 - Coggle Diagram
อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ
หูและการได้ยิน
หูชั้นใน
cochlea รับเสียง
สร้างกระแสประสาทเข้า CN VIII
semicircular ช่วยทรงตัว
การรับเสียง
เสียงกระทบกับเยื่อแก้วหูและกระดูกหู3ชิ้น
พลังงานเปลี่ยนเป็นพลังงานกล
ขยายสัญญาณคลื่นเสียง17-22เท่า
การสั่นสะเทือนเข้าไปใน cochlea
ของเหลวสั่นทำให้ hair cell สร้างกระแสประสาท
หูชั้นนอก
รูหู(auditory)
ใบหู(pinna)
นำเสียงไปให้เยื่อแก้วหู(ear drum)
การทรงตัว
semicircular canal มีของเหลวอยู่
ที่โคนพองออกเป็นกระเปาะ (ampulla)
hair cell อยู่ภายใน
การเคลื่อนไหวต่างๆ ทำให้ของเหลวกระทบ hair cell
สร้างกระแสประสาทส่งเข้า CN VIII
หูชั้นกลาง
กระดูกหู3ชิ้น
ทั่ง(incus)
ช่วยขยายเสียง1.3เท่า
โกลน(stapes)
ค้อน(malleus)
ท่อยูสเตเชียน(Eustachian tube)
เจริญจากเหงือก(gill slit) ระยะตัวอ่อน
ปรับความดันของหูเมื่อหูอื้อ
จมูกและการดมกลิ่น
เส้นทางการดมกลิ่น
โมเลกุลกลิ่น(odorant)
เยื่อบุจมูก(epithelial cell)
olfactory neuron
CN I
olfactory bulb
cerebrum
การเป็นหวัด
เมือกมาคลุมเยื่อจมูกมาก
ทำให้ไม่สามารถรับรสชาติอาการได้ดี
cilia รับกลิ่นได้ไม่ดี
รับกลิ่นด้วย olfactory neuron
รูปร่างแบบ bipolar
ปลาย dendrite
มี cilia สร้างกระแสประสาทเข้า CN I
ผิวหนังและการสัมผัส
หนังกำพร้า (epidermis)
เจริญมาจากชั้นเนื้อ ectoderm
ปลายประสาทรับความเจ็บปวด(pain) แทรกอยู่
หนังแท้(dermis)
เจริญจากชั้นเนื้อ mesoderm
ต่อมไขมัน
เซลล์สร้างขน
ต่อมเหงื่อ
หลอดเลือดฝอย
ปลายประสาทรับสัมผัส
ลิ้นและการรับรส
โมเลกุลรสมากระทบเซลล์ที่รับรสที่ลิ้น
เกิดกระแสประสาทเข้า CN VII กับ CN IX
บนลิ้นเห็นปุ่มลิ้น (papilla)
มีตุ่มรับรส (taste bud) หลายตุ่ม
ตุ่มมีเซลล์รับรส (gustatory cell) ต่อกับเซลล์ประสาท
นางสาวบุญยานุช รัตนมณี ม4/9 เลขที่26