Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญากรีก-โรมัน - Coggle Diagram
ปรัชญากรีก-โรมัน
ยุคเริ่มต้น(ก.ค.ศ.585-450)การศึกษาเพื่อหาคำตอบเกี่ยวกับปฐมธาตุแก่นแท้ของโลกและเป็นเอกนิยม
สำนักโมเลตุส
ธาเลส
น้ำคือปฐมธาตุของโลก
"โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร”
และค้นหาคำตอบจากธรรมชาติ
อานักซิมานเดอร์
อาการคือปฐมธาตุของโลกที่เคลื่อนที่ไม่สิ้นสุด
การขยายตัวของอากาศทำให้เกิดสรรพสิ่ง
อานักซิเมเนส
สรรพสิ่งในโลกล้วนมีแหล่งกำเนิดจาก “อนันต์”
(ไม่มีลักษณะตายตัวและกลายเป็นอะไรก็ได้)
พิธากอรัส
จำนวนตัวเลข (Number) เป็นลักษณะสำคัญที่สุดของสรรพสิ่งในโลก
เรียกตัวเองว่าเป็นนัก “ปรัชญษ” คนแรก (นักปรัชญา = คนที่รักในความรู้)
ผู้ค้นพบทฤษฎีของเรขาคณิตแบบยูคลิต
ตัวเลขคือตัวกำหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ของสรรพสิ่ง
เฮราคลีตุส
คิดค้นเรื่องอนิจจา “ความเปลี่ยนแปลง”
สิ่งใดจะเป็นปฐมธาตุ สิ่งนั้นย่อมมีพลังในการเปลี่ยนแปลงตัวเอง และ “ไฟ” คือปฐมธาตุ
“ชีวิตกับความตาย ตื่นกับหลับ หนุ่มกับแก่ เป็นสิ่งเดียวกัน”
เอมเปโดเคลส
ปฐมธาตุของโลกประกอบด้วย ดิน น้ำ ลม ไฟ
โลกนี้ไม่ได้เปลี่ยนแปลง แต่เพราะปฐมธาตุของโลกเกิดการโยกย้ายตำแหน่ง ทำให้พบการเปลี่ยนแปลง
ปฐมธาตุคือสิ่งเที่ยงแท้และคงที่
สำนักเอเลีย
เซโนฟาเมส
ความเชื่อในพระเจ้ามีองค์เดียวและเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกับโลก
ปามีนิเตส
ธาตุแท้หรือแก่นแท้ของสรรพสิ่ง
ไม่เคยเปลี่ยนแปลง
เซโนแห่งเอเลีย
การค้นพบวิภาษวิธี ชี้ให้เห็นถึงหลักฐานเหตุผลเพื่อโต้แย้งให้เกิดความรู้
อานักซาโกรัส
โลกเกิดจากส่วนประกอบต่างๆ ที่ลอยเคว้งในอากาศ แล้วมีพลังงานก่อให้เกิดการรวมตัวของธาตุต่างๆ
สิ่งทั้งหลายไม่อาจมีขึ้นจากความว่างเปล่า
ในโลกนี้มีธาตุอยู่นับไม่ถ้วน ธาตุแต่ละตัวมีเอกลักษณ์ประจำตัว ไม่มีธาตุใดเกิดจากธาตุอื่น
หนึ่งในผู้ให้กำเนิดปรัชญาจิตนิยม
สำนักปรมาณูนิยม
ปฐมธาตุคือ ปรมาณู หรือ Atom หมายถึง สสารที่เล็กที่สุดจนไม่อาจแบ่งชิ้นส่วนของสสารได้
ปรมาณูรวมตัวกันจนเกิดเป็นสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก
ความจริงแท้ในโลกประกอบด้วย ปรมาณูและอวกาศ
ยุครุ่งเรือง (ก.ค.ศ.585-450)ศึกษาวิทยาศาสตร์และปรัชญาทางธรรมชาติ ทำให้เกิดสาขาอื่นๆ ตามมา
โปรแทกอรัส
(พ.ศ.63-133)
ปรัชญาของโปรแทกอรัสจัดอยู่ในประเภทญาณวิทยาหรือทฤษฎีความรู้
“มนุษย์เป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” อะไรจริงหรือเท็จขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแต่ละคน ไม่มีมาตรการตัดสินความจริงอื่นใดนอกไปจากแต่ละคน
ทัศนะอัตนัย (Subjective Opinion) หรือความเห็นเฉพาะบุคคล
โซคราเต็ส
ความจริงและความดีจะต้องมีมาตรการแน่นอนตายตัวสำหรับมนุษย์ จิตของมนุษย์นั้นสามารถจะแยกความจริงและความดีได้
“ความรู้ที่ได้ในขณะปัสนาย่อมไม่มีกิเลส”
โปรแทกอรัส
“มนุษย์เป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” อะไรจริงหรือเท็จขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของแต่ละคน ไม่มีมาตรการตัดสินความจริงอื่นใดนอกไปจากแต่ละคน
พลาโต้
ความจริงและความดีต้องมีมาตรการตายตัวสำหรับทุกคน และเห็นด้วยว่าการขจัดกิเลสและทำปัสนาาเป็นทางนำไปสู่ความรู้จริง
อริสโตเติ้ล
” เพราะโลกแห่งมโนคติของอาจารย์เป็นเพียงสมมติฐาน ซึ่งไม่มีอะไรยืนยันว่าต้องมีจริง”
สิ่งสากลมิได้อยู่ในโลก แต่อยู่ในโลกแห่งผัสสะของเรา
คนเราจะมีกิเลสหรือไม่มีกิเลสก็ไม่ใช่เรื่องสำคัญอะไร เพียงแต่ใช้วิธีให้ถูกเท่านั้น ก็จะเห็นความจริงมาตรฐานได้ตรงกันทุกคน
ยุคเสื่อม “ปรัชญารวมเข้ากับศาสนา”
สำนักเอปิคิวเรียส
อภิปรัชญา
สรรพสิ่งเกิดจากการรวมตัวของปรมาณู
จริยศาสตร์
แสวงหาวิธีสร้างความสุขมากที่สุดให้กับชีวิต แนวคิดด้านจริยศาสตร์ของเอปิคิวรุสจัดอยู่ใน ประเภทสุขนิยม (Hedonism)
สำนักสโตอิก
อภิปรัชญา
จักรวาลเกิดจากหลักการเบื้องต้น 2 ประการคือ กัตตุภาวะ (พระเจ้า) ที่เป็นฝ่ายเคลื่อนไหวกระทำการและก่อสร้างสรรพสิ่ง และกัมมภาวะ (สสาร)
จริยศาสตร์
“มีชีวิตอยู่ตามธรรมชาติ (Live According to Nature)” การดำรงชีวิตตามธรรมชาติคือการดำรงชีวิตอย่างมีคุณธรรมน
สำนักวิมตินิยมและสังคหนิยม
ญาณวิทยา
สัญชานและเหตุผลไม่สามารถให้ความรู้แท้จริงแก่มนุษย์
จริยศาสตร์
เราควรยับยั้งการตัดสินว่าอะไรดีอะไรหรืออะไรชั่ว ถูกหรือผิด เพราะเราไม่มีทางพิสูจน์เรื่องนี้ว่าเป็นจริง ตามที่เราตัดสินหรือไม่
ลัทธิพลาโต้ใหม่
วิธีการใหม่ในการแสวงหาความจริง นั่นคือ วิธีการที่อิงอาศัยประสบการณ์ลึกลับทางศาสนา